Getting to Know Wat Phra Dhammakaya
From no land to a large tract of land From fallow fields to a graceful Buddhist temple From 1 Bhikku to tens to hundreds to a thousand and increasing From 100 laypeople to 1,000, 10,000, 100,000 and 1 million in the future
The appearances of the word “Dhammakaya” in the Tripitaka and other Buddhist texts.
The appearances of the word “Dhammakaya” The word “Dhammakaya” appears in various places both in the Tripitaka and other Buddhist texts. In the Tripitaka, the word “Dhammakaya” appears in four places.
พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย...ก้าวไกลสู่เวทีโลก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ สืบทอดผ่านการสวดทรงจำโดยเหล่าพุทธสาวก และจารจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกลงในคัมภีร์ใบลาน เมื่อครั้งกระทำสังคายนา ครั้งที่ 5 ราว ๆ ปี พ.ศ. 400 เศษ ณ อาโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา
In the beginning, there were only extensive fields under the hot sun with no trees or buildings. And at night, there was only the star-filled sky.
คัมภีร์ใบลาน ขุมทรัพย์ทางปัญญาของชาวพุทธ
ทีมงานโครงการพระไตรปิฎกวัดพระธรรมกาย จึงนำคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในอดีต มาเชื่อมต่อกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลกยุคปัจจุบัน เพื่อสานต่อไปยังอนาคต ด้วยการใช้กล้องคุณภาพสูงบันทึกหน้าคัมภีร์ใบลานเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เพื่อทำสำเนาสำรองเก็บรักษาเอกสารต้นฉบับ ทำให้ผู้สนใจสามารถศึกษาจากไฟล์ภาพโดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงคัมภีร์ต้นฉบับโดยตรง
คัมภีร์แห่งกษัตริย์...สมบัติแห่งแผ่นดิน
คัมภีร์ใบลานที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง รวมถึงคัมภีร์ที่พระบรมวงศานุวงศ์ตลอดจนขุนนางชั้นผู้ใหญ่สร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับหลวง หรือฉบับของหลวง ส่วนคัมภีร์ใบลานที่พระภิกษุสงฆ์หรือราษฎรสร้างขึ้น เรียกว่า คัมภีร์ใบลานฉบับราษฎร์ หรือ ฉบับเชลยศักดิ์
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
คัมภีร์ใบลาน มรดกธรรมจากพุทธกาล
การจารจารึกเป็นตัวอักษรขึ้นนับเป็นจุดเริ่มต้นของการสืบทอดคำสอนด้วยใบลานนับแต่นั้นเป็นต้นมา เนื่องจากเดิมคัมภีร์บาลีสืบทอดต่อกันมาด้วยมุขปาฐะ ภาษาบาลีจึงไม่มีตัวอักขระ เป็นเพียงเสียงเท่านั้น
ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
Schedule of the historic Pali Tipitaka Seminar and Exhibition
Schedule of the historic Pali Tipitaka Seminar and Exhibition "The Inheritance of the Lord Buddha's Dhamma: From the Buddha Time to this era" on Saturday February 23rd, 2013