ข้อคิดจากความตาย
ตายแล้วฟื้นได้จริงหรือ? แล้วในส่วนการทำพิธีกงเต็ก ด้วยการเผาบ้านกระดาษ เผารถกระดาษ กับการทำบุญกรวดน้ำไปให้ผู้ตาย อย่างไหนได้บุญมากกว่ากัน บุญจะส่งถึงคนตายได้อย่างไร?
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต
มหากัณหชาดก-ชาดกว่าด้วยคราวที่สุนัขดำกินคน
ตั้งแต่พระพุทธศาสดาทรงตรัสรู้บรรลุสัมโพธิญาณ แสดงพระธัมมจักกัปวัตนสูตรแก่พระปัญจวัคคีย์ แสดงอาทิตตปริยายสูตรโปรดชฏิล 3 พี่น้อง โปรดองคุลิมาล คนบาปจนตั้งอยู่ในอรหัตผล เสด็จโปรดเหล่าเทวดา 80 โกฏิจนบรรลุธรรม
กระต่ายน้อยในดวงจันทร์(ทานปรมัตถบารมี)
เมื่อให้ทานอันเลิศ บุญอันเลิศย่อมเจริญ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ
CaseStudy ตอนที่ 2 พ่อเธอตายแล้วไปไหน?
ต่อจากตอนที่แล้ว...มีอาชีพประมง ตายแล้วไปไหน
กรณีศึกษากฎแห่งกรรม จะทำเล็บ แต่ไฉนมาบวชอุบาสิกาแก้วได้
กรณีศึกษา ของอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อนชาวญี่ปุ่นคนแรกของโลก
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ละตัณหาได้ ไม่ต้องเกิดอีก
ครั้นพระบรมศาสดาทรงแก้ปัญหาจบลงแล้ว พราหมณ์ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม ไม่ได้บรรลุอรหัตผล ได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผลเท่านั้น เพราะเวลาฟังพยากรณ์ปัญหา มีจิตฟุ้งซ่าน คิดถึงลุงผู้เป็นอาจารย์ว่า ลุงของเราหาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาอันลึกซึ้งไพเราะอย่างนี้ไม่ อาศัยความกังวลที่มีจิตฟุ้งซ่าน เพราะความรักใคร่ในลุง จึงไม่อาจทำให้สิ้นอาสวะในตอนนั้นได้
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - สละชีวิตเพื่อพ่อ
ฝ่ายยักษ์รอคอยการมาของพระราชาอยู่ ใต้ต้นไม้ เมื่อเห็นพระโอรสเสด็จมาแทน จึงถามว่า ท่านไม่รู้หรือว่าเราเป็นยักษ์ ทำไมจึงเดินมาหาเรา พระโพธิสัตว์ตรัสว่า เรารู้ว่าท่านเป็นยักษ์กินคน เราคือโอรสของพระราชา วันนี้ท่านจงกินเราแทนพระชนกเถิด
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - ราชฑูตรับใช้ตัวเอง
ตัณหาความทะยานอยาก เป็นสาเหตุของความทุกข์ เมื่ออยากได้ อยากมี อยากเป็น ก็ต้องแสวงหา และในการแสวงหา กว่าที่จะให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ต้องการนั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมาย ต้องคอยแก้ไขปัญหาสารพัด บางทีจะได้อะไรมาสักอย่างหนึ่ง เลือดตาแทบกระเด็น บางอย่างต้องเอาชีวิตเข้าแลกจึงจะได้มา เหมือนอย่างเรื่องของบุรุษคนหนึ่ง ที่ทั้งน่าทึ่งและน่าประหลาดใจ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๒)
คนพาลทำกรรมชั่วที่มีผลเผ็ดร้อน แล้วเดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้นไม่ดี ไม่ควรกระทำ ส่วนบุคคลใดทำกรรมใดแล้ว มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน ไม่เดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้น เป็นความดี ควรทำ