ทำไมจึงเกิดมาเป็นคนมีกลิ่นตัวแรง
กรรมใดทำให้ลูกมีกลิ่นใต้รักแร้แรงมาก ใช้ยาระงับกลิ่นมาตลอดก็ยังไม่หาย จะมีวิธีแก้ไขอย่างไรคะ
ขอเรียนเชิญร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุก เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ต้อนรับเดือนกันยายนเดือนแห่งการสร้างบุญความดี และร่วมใจน้อมถวายบุญนี้ แด่มหาปูชะนียาจารย์ ด้วยการให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผู้ใจบุญทุกท่านสร้างบุญให้ต่อเนื่อง ร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุด เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ปล่อยเต่าเข้าวัดได้บาป - ปล่อยเต่าเข้าธรรมชาติได้บุญ
มารผู้ขัดขวางความดี
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ทั้งสิ้น นี้เป็นโลกามิส อันแรงกล้า โลกหมกมุ่นอยู่ในอารมณ์เหล่านี้ ส่วนสาวกของพระพุทธเจ้า มีสติก้าวล่วงโลกามิสนั้น และก้าวล่วงบ่วงมารแล้ว รุ่งเรืองอยู่ดุจพระอาทิตย์ ฉะนั้น
ร่วมปล่อยสัตว์ปล่อยปลา เสาร์ต้นเดือน ณ วัดปทุมทอง อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมปล่อยปลาดุกไข่ เต่า กบ และนก ในวันเสาร์ต้นเดือนที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ปล่อยสัตว์ปล่อยปลา เสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560 ณ หอฉันคุณยายฯ
หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีบุญทุกท่าน ร่วมปล่อยปลาดุกไข่ เต่า กบ และนก ในวันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2560 ณ หอฉันคุณยายฯ
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
''เต๋า'' บวชรอบ2 ซุ่มเงียบมุ่ง ''ศึกษาพระธรรม''
กุรุงคมิคชาดกว่าด้วยการร่วมด้วยช่วยกัน
กุรุงคมิคชาดก เป็นเรื่องของสัตว์ 3 ตัว คือ เต่า นกสตปัตตะ กวาง สัตว์ทั้งสามตัวเป็นเพื่อนรักกัน และเหตุที่ทุกตัวไม่คาดคิดก็เกิดขึ้น เจ้ากวางถูกกับดักติดบ่วงของนายพราน เพื่อนรักอย่างเจ้านกและเจ้าเต่าจะมีวิธการช่วยเหลือเพื่อนกวางได้หรือไม่? อย่างไร?.....
บุหรี่เป็นสาเหตุของการเสี่ยงเป็นมะเร็งปอดถึง 21 เท่า
ศาสตราจารย์นายแพทย์ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เปิดเผยว่าคณะทำงานศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ทำการสำรวจการเสียชีวิตของหญิงไทยเมื่อปี 2547 พบว่ามีหญิงไทยเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่สูงถึง 5,793 คน จากหญิงไทยที่สูบทั้งหมดกว่า 5 แสนคน พบว่าพยาบาลที่สูบบุหรี่เสียชีวิตจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบเป็น 3.3 เท่า โรคถุงลมปอดพอง 39.6 เท่า มะเร็งปอด 21 เท่า