โอวาทหลวงปู่วัดปากน้ำเกี่ยวกับการให้ทานและรักษาศีล
โอวาทและคำสอนจากหลวงปู่วัดปากน้ำเกี่ยวกับการทำทาน รักษาศีล และการสร้างบุญ เพื่อให้ผู้ที่สนใจศึกษาได้เข้าใจหลักธรรมในชีวิตประจำวัน.
อานิสงส์การให้ทาน
ในสมัยพระปทุมุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ามีชาวนาผู้ใจบุญท่านหนึ่ง ได้ฟังธรรมจากพระบรมศาสดาแล้ว ก็อยากถวายข้าวสารใหม่ที่ตัวเองลงมือเก็บเกี่ยวกับมือแด่พระพุทธองค์พระองค์ทรงทราบความตั้งใจดีของชาวนาแล้วจึงตรัสสัมโมทนียกถาเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาว่า “ชื่อว่าสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง มีปัญญาและศีลมีจิตมั่นคง ทานที่ถวายในสงฆ์ย่อมมีผลมาก
อานิสงส์การให้ทานเพื่อขจัดความตระหนี่
การจะเอาชนะกิเลสในตัวได้นั้นต้องอาศัยกำลังใจสูง จึงจะสามารถสวนกระแสกิเลส
บุญเกิดขึ้นจากการให้ทาน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน เหมือนอย่างเรารู้ไซร้ สัตว์ทั้งหลายยังไม่ให้แล้วก็จะไม่พึงบริโภค อนึ่ง ความตระหนี่อันเป็นมลทิน
การที่พระเวสสันดรให้บุตรธิดาเป็นทานแก่ชูชกแล้วลูกๆ ของท่านก็ได้รับความลำบากนั้น การให้ทานแบบนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่
การที่พระเวสสันดรให้พระโอรส พระธิดาเป็นทานไปนั้น เพราะท่านเป็นผู้มีปัญญามาก ต้องตัดใจทิ้งลูกทิ้งเมีย เพื่อรบกับกิเลส ชนะกิเลสครั้งนี้ ลูกเมียจะเดือดร้อนอย่างมากก็แค่ชาตินี้ ชาติต่อไปจะไม่มีคำว่าเดือดร้อนอีกแล้ว ทรงมองเห็นอย่างนี้ จึงทำอย่างนั้น พวกเราเวลาพิจารณาอะไร อย่าเอาภาวะฐานะที่ตัวเองเป็นอยู่ไปตัดสินใครเขา
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๒)
เรือที่แล่นออกสู่ทะเลมหาสมุทร เมื่อมีมรสุมต้องรีบหามุมหลบก่อน ครั้นมรสุมสงบ จึงแล่นเรือต่อไป พวกเราก็เช่นเดียวกัน หากชีวิตกำลัง
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๑)
ปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหารอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว เพื่อนร่วมงาน ค่าครองชีพที่สูงขึ้น มลพิษของสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนเป็นปัญหา
สร้างมหาวิหาร มหาทานข้ามชาติ
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุญร้ายจิตที่ฝึกแล้ว (ปฐมทานสูตร)
ทำไมต้องทาน ศีล ภาวนา
การให้ทาน รักษาศีล และเจริญสมาธิภาวนา เป็นข้อปฎิบัติในชีวิตประจำวันของชาวพุทธ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมอบไว้ให้
ชฎิลเศรษฐี ผู้มีภูเขาทอง
ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ทานยังประโยชน์ให้สำเร็จได้แล แม้เมื่อของที่จะให้มีอยู่น้อย ทานก็ยังประโยชน์ให้สำเร็จได้ การให้ทานที่ให้แม้ด้วยศรัทธาก็ให้ประโยชน์สำเร็จได้ ทานที่ให้แก่บุคคลผู้มีธรรมอันได้แล้ว ยิ่งเป็นการดี อนึ่ง ทานที่บุคคลเลือกให้ ยิ่งเป็นการดี และความสำรวมแม้ในสัตว์ทั้งหลายยิ่งเป็นการดี