Case Study อุบาสกวินิช ตอนที่ 1
คำถาม : ทำไมอุบาสกวินิชถึงได้มารับบุญเป็นหัวหน้าชั้น
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
อานิสงส์สร้างที่ปฏิบัติธรรม
การสร้างที่พักอาศัยถวายแด่ภิกษุสงฆ์เพื่อใช้เป็นสถานที่ประพฤติปฏิบัติธรรม ได้ชื่อว่าให้ทุกสิ่งทุกอย่าง คือ ให้อายุ วรรณะ สุข พละ เรื่อยไปจนถึงการบรรลุมรรค ผล นิพพาน
ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ พระมหาธีรราชเจ้าของชาวสยาม
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นชาวไทยคนแรกที่ปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสยามมกุฎราชกุมาร ทรงผนวชที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเป็นพระอุปัชฌาย์ เสด็จประทับจำพรรษาศึกษาพระธรรมวินัย ณ วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลา ๑ พรรษา
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน
อานิสงส์การให้ทาน
ในสมัยพระปทุมุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ามีชาวนาผู้ใจบุญท่านหนึ่ง ได้ฟังธรรมจากพระบรมศาสดาแล้ว ก็อยากถวายข้าวสารใหม่ที่ตัวเองลงมือเก็บเกี่ยวกับมือแด่พระพุทธองค์พระองค์ทรงทราบความตั้งใจดีของชาวนาแล้วจึงตรัสสัมโมทนียกถาเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาว่า “ชื่อว่าสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง มีปัญญาและศีลมีจิตมั่นคง ทานที่ถวายในสงฆ์ย่อมมีผลมาก
ยมโลกมหานรกขุม 5
คำถามข้อที่ 1. คุณพ่อของลูกตายแล้วไปไหน ท่านมีความเป็นอยู่ในปรโลกเป็นอย่างไร และท่านมีข้อความอะไรฝากมาถึงลูกและครอบครัวบ้างไหมคะ
วิบากกรรมสุรา มหานรกขุม 5
คำถามข้อที่ 1. โยมแม่ของผมตายแล้วไปไหน ท่านมีความเป็นอยู่อย่างไร บุญที่ผมได้ตั้งใจบวชมีผลต่อท่านหรือไม่ และท่านมีข้อความอะไรฝากมาถึงผมและครอบครัวบ้างไหมครับ
วิบากกรรม "คนหาปลา"
จนกระทั่งมาถึงวันที่ 7 (นับจากวันที่โยมพ่อของลูกได้เสียชีวิตลงไปแล้ว) ในระหว่างที่กายละเอียดโยมพ่อของลูกกำลังเดินวนเวียนไปมาอยู่ภายในบ้านของท่านอยู่นั้น ก็ได้มีเจ้าหน้าที่ยมโลกนุ่งหยักรั้งสีแดงจำนวน 2 ตนมาปรากฏกายยืนอยู่ที่เบื้องหน้าของท่าน!!!
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"