มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - โทษของการเป็นผู้ว่ายาก
เมื่อตรัสเล่าเรื่องนี้แล้ว พระบรมศาสดาก็ตรัสสรุปว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แร้งนั้นถึงความพินาศฉันใด แม้ผู้อื่นไม่ว่าจะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิต ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ถ้าไม่เชื่อคำสอนของผู้รู้ทั้งหลาย ผู้หวังอนุเคราะห์ด้วยประโยชน์เกื้อกูล แม้ผู้นั้นก็จะถึงความพินาศอย่างนั้นเหมือนกัน”
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - ทางมาแห่งคุณธรรม
เพราะฉะนั้น เวลามีใครมาชี้โทษตักเตือนเรา ก็อย่าได้ขุ่นมัว ถ้าเราพิจารณาดูแล้วพบว่า เราผิดจริงก็แก้ไขปรับปรุงเสีย ถ้าไม่ผิดก็รับฟังด้วยความเคารพ แล้วค่อยๆ ปรับความเข้าใจในภายหลัง ให้คิดว่าผู้ที่คอยชี้โทษหรือบอกข้อบกพร่องให้เรานั้น เป็นผู้มาชี้บอกขุมทรัพย์ให้แก่เรา เราจะได้ตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเองให้ยิ่งๆขึ้นไป
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - มหาสมุทรแห่งคุณธรรม
คนว่าง่ายมีความเคารพเชื่อฟัง และตั้งอยู่ในโอวาทของผู้มีคุณธรรม ย่อมจะได้รับการถ่ายทอดคุณงามความดี จะเป็นที่มานอนแห่งสิริมงคลทั้งปวง โสวจัสสตา คือ ความเป็นผู้ว่าง่าย จะเกิดขึ้นกับเราได้ก็ต่อเมื่อเรามีความสำนึกอยู่เสมอว่า ยังมีสิ่งที่เราจะต้องฝึกฝนอบรมตนเองอีกมาก แล้วหมั่นสังเกต หมั่นแสวงหาความรู้ และคุณธรรมจากผู้อื่นอยู่เสมอ
บวชสามเณรปิดภาคเรียน ยุวพุทธศาสตร์ รุ่นที่ 7 (ภาคฤดูร้อน)
โครงการยุวพุทธศาสตร์ รุ่นที่ 7 (ภาคฤดูร้อน) เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ - 31 มีนาคม พ.ศ.2562 สอบถามเพิ่มเติม โทร. 087-435-7897, 080-765-6522
บวชสามเณรปิดภาคเรียน ยุวพุทธศาสตร์ รุ่น 5
บวชเรียนพุทธศาสตร์ ปริยัติสามัญ รับสมัครอายุ 11 - 13 ปี อบรมระหว่าง 19 มีนาคม - 29 เมษายน พ.ศ.2560 ณ มหารัตนวิหารคด คอร์ 13 รับสมัครและสอบสัมภาษณ์ ห้อง SPD 15E วันที่ 5, 11, 19, 26 ก.พ. และ 5,12 มี.ค. 2560 สอบถามโทร. 08-4677-8990 , 085-054-6030 หรือทุกวันอาทิตย์ที่ โอ26 สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
พุทธชิโนรส (๖)
ดูก่อนมารผู้กระทำซึ่งที่สุด ตัวท่านเป็นผู้ที่เรากำจัดเสียแล้ว ชนเหล่าใดสำรวมดีแล้ว ด้วยกาย ด้วยวาจา และด้วยใจ ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ชนเหล่านั้น ไม่เดินตามหลังมาร
อัธยาศัยของมนุษย์ (๒)
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ขัดเคืองฉุนเฉียว กระฟัดกระเฟียดกระด้างกระเดื่อง แสดงความโกรธความขัดเคือง และความไม่พอใจให้ปรากฏ แต่เขาเป็นผู้ให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่อาศัย และประทีปโคมไฟ แก่สมณพราหมณ์ และไม่เป็นผู้มีใจริษยาในลาภ สักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และการบูชาของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน ไม่ผูกความริษยา ถ้าบุคคลนั้น จุติจากอัตภาพนั้นไปสู่สัมปรายภพ แล้วกลับมาเกิดอีก ย่อมเป็นผู้มีผิวพรรณทราม รูปไม่งาม แต่จะเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข