เซ็งกดขี่วรรณะตลอดชาติ จัณฑาลแห่เปลี่ยนถือ "พุทธ"
ชาวอินเดียวรรณะจัณฑาล 500 คนเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ
เกิดอะไรกันขึ้นหนอ เมื่อชาวอินเดียวรรณะจัณฑาลตามศาสนาฮินดูจำนวนถึง 500 คนได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธ ณ พิธีแห่งหนึ่งซึ่งดูแลโดยสมาคมชาวพุทธแห่งอินเดียในเขตสหรันเพอร์
อกตัญญุตาชาดก-ชาดกว่าด้วยคนอกตัญญู
พุทธกาลสมัยหนึ่งครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระสงฆ์สาวกทั้งหลายกลับจากกรุงราชคฤห์ แผ่นดินมคธมาสู่พระเชตวันมหาวิหาร ณ นครสาวัตถี ในโกศลรัฐนั้น สิ่งร้าวรานที่เกิดจาก เทวทัตเถระ กระทำย่ำยีต่อพระพุทธศาสนาในการแบ่งแยกหมู่สงฆ์และสะพิงบัญญัติใหม่แปลกไปจากพุทธวินัยในแคว้นมคธก็กลายเป็นข้อวิภาคเจ็บร้อนขึ้นในธรรมสภา
ดร.เอมเบดการ์ และ เหินฟ้าสู่แดนภารตะ
“ในการมาสัมมนาครั้งนี้ เราไม่ได้มาแค่เพียงคุยกันเท่านั้น แต่ถึงเวลาแล้ว ที่จะลงมือปฏิบัติให้เกิดผลจริงจังอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากที่อินเดียรวมคนได้เก่งมาก หลวงพ่อจึงอยากเห็นการจัดบวชสามเณร 1ล้านรูป”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 155
สุวโปดกจึงชักอุปมาว่า “สาลิกา จ๋า อย่าว่าแต่เธอกับฉันเลย แม้แต่ในหมู่มนุษย์ พระราชามหากษัตริย์ก็ยังอยู่ร่วมกับหญิงจัณฑาลได้เลย เรื่องชาติชั้นวรรณะไม่สลักสำคัญอันใดดอกจ้ะ เธอไม่เคยได้ยินหรือว่า รักแท้ย่อมไม่มีพรมแดน สิ่งใดๆก็มิอาจกั้นขวางความรักได้เลย เพราะรักแท้ขึ้นอยู่กับความปรารถนาในกันและกันต่างหากเล่า”
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - อย่าลบหลู่คุณท่าน
เขาคิดว่า ถ้าเราบอกว่าเรียนมาจากคนจัณฑาล ก็จะได้รับความอับอาย และเสื่อมเสียเกียรติยศชื่อเสียง คนอื่นจะไม่นับหน้าถือตา และยังจะถูกมหาชนดูถูกดูหมิ่นเอาอีกด้วย จึงกราบทูลว่าเรียนมาจากสำนักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์ พร้อมๆกับที่เขากล่าวมุสา มนต์ก็เสื่อมในทันทีโดยที่เขาไม่รู้ตัว
อนุสาสิกชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องดีแต่พูด
ในนครสาวัตถี ยังมีภิกษุณีผู้ชอบพร่ำสอนอยู่รูปหนึ่ง มีนิสัยชอบสั่งสอนและมักห้ามภิกษุณีรูปอื่น ๆ มิให้เข้าไปในที่หวงห้าม แต่ตนเองก็มิได้กระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี กลับละเมิดเข้าไปในที่หวงห้ามเสียเอง
หยุดนิสัยชอบแก้ตัว
พฤติกรรมการปัดความรับผิดชอบ หรือแก้ตัว เป็นอุปสรรคในการพัฒนาตัวเอง หรือการทำงานร่วมกับคนอื่น แล้วจะหยุดการแก้ตัวได้อย่างไร
คนที่ใช่ในเวลาที่ถูก
ปัจจัยที่ทำให้สามารถเป็นต่อในการแข่งขันคือคนและการบริหารทรัพยากรบุคคล ถ้าองค์กรใดมีการจัดกำลังการบริหารบุคลากรได้อย่างดี จะยิ่งได้เปรียบ
ฉวชาดก ชาดกว่าด้วยการนั่งที่ไม่สมควร
ครั้งหนึ่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นั้นได้รับกิจนิมนต์จากชาวบ้าน ครั้นเมื่อไปถึงเรือนของผู้นิมนต์แล้วก็นั่งอยู่ในที่ต่ำแสดงธรรมแก่ฆราวาสซึ่งนั่งอยู่ในที่สูงกว่า ด้วยเห็นว่าพวกตนได้รับการดูแลอย่างดีจากเจ้าของบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งเห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น จึงนำความไปกราบทูลพระพุทธองค์ทรงทราบ