เรือนที่มุงไม่เรียบร้อย
เรือนที่มุงไม่เรียบร้อย ฝนย่อมไหลย้อยเข้าได้ ใจที่ไม่อบรมฝึกหัด ราคะกำหนัดย่อมครอบงำ
เรือนที่มุงไม่เรียบร้อย ฝนย่อมไหลย้อยเข้าได้
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง
จิต
คำว่า " จิต " ตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง สภาพรู้ อาการรู้ลักษณะรู้แจ้งอารมณ์ เป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้แจ้งอารมณ์ และคำว่า จิตนี้ยังมีชื่อที่ใช้แทนคำว่าจิตในบางแห่งอีกมาก เช่น ใจ มโน มานัส ปัณฑระ หทัย วิญญาณวิญญาณขันธ์ มนายตนะ เป็นต้น ในชีวิตประจำวันของเรา จะทราบได้ว่าผู้ที่ยังไม่ตายมีชีวิตอยู่ เป็นผู้มีจิตเกิดดับต่อเนื่องไปจนกว่าจะตาย ฉะนั้น จิตคือ สภาพรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ
อิทธิบาท4 ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ
อิทธิบาทก็คือ “ทางดำเนินไปสู่ความสำเร็จ”ซึ่งประกอบด้วยหมวดธรรม 4 ข้อ คือ 1. ฉันทะ คือ เต็มใจทำ 2. วิริยะ คือ แข็งใจทำ 3. จิตตะ คือ ตั้งใจทำ 4. วิมังสา คือ เข้าใจทำ
การควบคุมจิตด้วยปัญญา
ถ้าเรามีจิตไม่ถูกปรุงแต่ง ก็เรียกว่า เรามีจิตเป็นพุทธะขึ้นมา เป็นผู้รู้ขึ้นมาทันที รู้อะไรถูกต้องขึ้นมาแล้วก็เป็นตัวเองอย่างแท้จริง สภาพมันอยู่คงที่หน้าตาของมันดั้งเดิม ของมันปรากฏอยู่อย่างนั้น ไม่ถูกฉาบไปด้วยกิเลส เรียกว่า ไม่ถูกปรุงแต่ง สภาพจิตมันเป็นอย่างนั้น...
เครื่องกั้นจิตปิดกั้นใจ
“จิต” ของมนุษย์นั้นเดิมทีมีความใสสว่าง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า “จิตประภัสสร” แต่เพราะถูกอาคันตุกะกิเลส(กิเลสที่จรมา)
สร้างบารมีได้ตลอดรอดฝั่งต้องมีธาตุบริสุทธิ์
การจะอยู่สร้างบารมีกับหมู่คณะไปได้นาน ๆ ต้องมีธาตุบริสุทธิ์มาก หากมีธาตุบริสุทธิ์มาก ธาตุที่ไม่บริสุทธิ์ก็จะค่อย ๆ หมดไป ดังนั้นเราต้องไม่ประมาทในการดำเนินชีวิตโดยการหมั่นสั่งสมธาตุบริสุทธิ์เอาไว้มาก ๆ
อิทธิบาท ๔ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา นี้เรียกว่า อิทธิบาท ๔ เป็นหัวใจแห่งความสำเร็จทั้งมวลแปลอย่างจำได้ง่ายว่า ปักใจ บากบั่น วิจารณ์ ทดลอง ไม่ว่าจะทำกิจการใด ถ้าประกอบด้วยอิทธิบาท ๔ อย่างนี้ เป็นสำเร็จทั้งสิ้น
มีสติ ด้วยปัญญา
สติทำให้เกิดสมาธิ และสมาธิทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่มีสมาธิเป็นฐานนั้นจะมีพลังมากมีอานิสงส์มาก พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เพราะปัญญา แต่กว่าจะตรัสรู้ได้ พระพุทธเจ้าต้องเจริญสติบำเพ็ญสมาธิ เพราะฉะนั้นฝึกสติให้อยู่กับปัจจุบันอย่าใจลอย ใจต้องอยู่กับเรื่องเฉพาะหน้า ที่ต้องทำ ท่านจะมีสมาธิ แล้วสมาธินั้นทำให้เกิดปัญญา ปัญญาที่นำมาใช้ในชีวิต ประจำวัน เรียกว่าสัมปชัญญะ สัมปชัญญะก็คือปัญญาเฉพาะเรื่องนั่นเอง ปัญญาคือความรอบรู้ ส่วนสัมปชัญญะ ก็คือความรู้ชัดรู้จริงที่นำมาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะนั้นได้ ถ้าสติไม่มาปัญญาก็ไม่เกิด สติมา ปัญญาเกิด สติเตลิดก็เกิดปัญหา