วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์
พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระวิปัสสีพุทธเจ้า
ในยุคของพระวิปัสสีพุทธเจ้า พระพากุลเถระได้เกิดในตระกูลพราหมณ์ ณ กรุงพันธุมวดี ต่อมาได้ออกบวชเป็นดาบสฤๅษี และบำ เพ็ญเพียรจนได้ฌาน จนกระทั่งวันหนึ่ง ท่านได้ทราบข่าวการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงได้ไปเข้าเฝ้าเพื่อฟังธรรมแล้วเกิดจิตเลื่อมใส ทำให้ท่านถือเอาพระรัตนตรัยเป็นสรณะ อีกทั้งยังหมั่นมาฟังธรรมและคอยดูแลอุปัฏฐากพระศาสดาตามโอกาสสมควร
พระพากุลเถระ ตอน สร้างมหากุศลใหญ่ในสมัยพระอโนมทัสสีพุทธเจ้า
ย้อนไปหนึ่งอสงไขยกับอีกแสนกัป ซึ่งตรงกับสมัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า อโนมทัสสีในชาตินั้น พระพากุลเถระได้เกิดในตระกูลพราหมณ์แต่พอร่ำเรียนพระเวทจบแล้ว ก็รู้สึกว่า ไม่ใช่หนทางแห่งการหลุดพ้น จึงตัดสินใจออกบวชเป็นดาบสฤๅษีบำเพ็ญเพียรจนได้อภิญญา 5 และสมาบัติ 8 จากนั้นก็เสวยสุขอยู่ในฌาน
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (พร้อมคำแปล)
ภพสาม คุกใหญ่ของสรรพสัตว์
ชนทั้งหลายบางพวก ย่อมเข้าถึงครรภ์ ผู้ทำบาปอกุศล ย่อมเข้าถึงนรก ผู้สั่งสมความดีเป็นเหตุสุคติ ย่อมไปสู่สวรรค์ ผู้ไม่มีกิเลสอาสวะ ย่อมปรินิพพาน
มหาพรหม-มหาบุรุษ
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ย่อมโคจรส่องทิศให้สว่างอยู่เท่าใด อำนาจของท่านย่อมเป็นไปในพันจักรวาลเท่านั้น ท่านย่อมรู้จักสัตว์ที่เลวและสัตว์ที่ประณีต รู้จักสัตว์ที่มีราคะ และสัตว์ที่ไม่มีราคะ รู้จักจักรวาลนี้และจักรวาลอื่น และรู้จักความมาและความไปของสัตว์ทั้งหลาย
ผู้นำประโยชน์สุขมาให้แก่ชาวโลก
ผู้ใดเป็นคนฉลาด แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม และเป็นผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ผู้เป็นเช่นนั้นท่านเรียกว่า เป็นผู้ยังหมู่ให้งดงาม
อรูปภพ
คำว่าอรูปพรหม ไม่ได้หมายความว่า พรหมผู้ไม่มีรูปร่าง ท่านมีรูปกาย มีความสวยงามยิ่งกว่าพรหมในรูปภพเสียอีก ท่านสง่างามกว่า และประณีตกว่า เพราะท่านได้กายที่ใกล้เคียงลักษณะมหาบุรุษเข้าไปเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกายที่สมบูรณ์แบบที่สุด ถ้าสูงขึ้นไปจากอรูปภพก็จะเป็นอายตนนิพพาน เหมือนคำว่าอมนุษย์ ไม่ได้หมายว่าไม่มีมนุษย์ เพียงแต่ว่าไม่ใช่มนุษย์เท่านั้นเอง อรูปพรหมก็ไม่ได้หมายความว่าไม่มีรูปพรหม แต่แปลว่า ไม่ใช่รูปพรหม