ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
ครบรอบ 15 ปี วันมรณภาพสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
คณะสงฆ์วัดสามพระยา จัดพิธีบำเพ็ญกุศล วันครบรอบ 15 ปี แห่งการมรณภาพสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ฟื้น ชุตินฺธรมหาเถร และอดีตเจ้าอาวาส บุรพาจารย์ บุรพการี วัดสามพระยา
พิธีสมโภชสุพรรณบัฏ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
คณะกรรมการมหาเถรสมาคม พร้อมด้วยพระมหาเถระ พระเถรานุเถระ พระสังฆาธิการ
มส.ตั้งสมเด็จฝ่ายมหานิกายและธรรมยุต 2 รูป
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานการประชุมมหาเถรสมาคม ณ ตำหนักสมเด็จ วัดสระเกศวรวิหาร
เจ้าอาวาสสุทัศนเทพวราราม รับถวายมุทิตาสักการะจากเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เนื่องในโอกาสเจริญอายุวัฒนมงคล 84 ปี
พระเดชพระคุณพระพรหมวชิรมุนี เจ้าอาวาสสุทัศนเทพวราราม รับถวายมุทิตาสักการะจากพระครูปลัดรัตนวีรวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และคณะศิษยานุศิษย์ เนื่องในโอกาสเจริญอายุวัฒนมงคล 84 ปี
กราบมุทิตา 76 ปี พระราชภาวนาจารย์ (หลวงพ่อทัตตชีโว)
กราบมุทิตา 76 ปี พระราชภาวนาจารย์ (หลวงพ่อทัตตชีโว) วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องแก้วสารพัดนึก เวลา 12.30 น.
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
พระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
ประวัติพระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ