"ธัมมัสสวนมัย" ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
“กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ การฟังธรรมตามกาลเป็นมงคลอย่างยิ่ง”
อธิษฐานบารมี ยอมตายไม่ยอมทิ้งเป้าหมาย
"ท่านพึงบำเพ็ญอธิฐานบารมีให้เต็มเปี่ยม ธรรมดาว่าภูเขาหินศิลาแท่งทึบ ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ไม่สะเทือนด้วยแรงลม ตั้งอยู่ในที่เดิมของตนเท่านั้น ฉันใด ท่านจงอย่าได้หวั่นไหว ในความตั้งใจจริงตลอดกาล จักได้เป็นพระพุทธเจ้า"
อานิสงส์ถวายน้ำอ้อย
“นายโคบาลย่อมต้อนโคทั้งหลาย ไปสู่ที่หากินด้วยท่อนไม้ ฉันใด ความแก่ชราและความตายย่อมต้อนอายุ ของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น” (ขุ.ธ.)
อานิสงส์แห่งการสดุดียกย่องพระพุทธคุณ
การยกย่องสดุดี คือ การประกาศคุณธรรมของผู้ทำความดี เพื่อเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นได้รับรู้และปฏิบัติตาม ความหอมแห่งคุณธรรมที่เราได้ประกาศไปนี้ จะส่งผลย้อนกลับมาหาตนให้เป็นผู้ที่น่าคบหา น่าเข้าใกล้และน่าสนทนาด้วย ดังเรื่องราวของพระสุคันธเถระ ผู้ใช้ปัญญาในการยกย่องสรรเสริญพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
ปัตติทานมัย : เอาบุญมาฝากนะครับ/คะ
ธัมมัสสวนมัย ฟังธรรมเป็นนิจจิตแจ่มใส
การฟังธรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกชีวิตยิ่งกว่าความรู้ทางโลกที่ร่ำเรียนมา เพราะจะทำให้เกิดดวงปัญญาสว่างไสว สามารถพิจารณาเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง รู้จักแยกแยะผิดชอบชั่วดี ทำให้มีชีวิตอยู่ด้วยความร่มเย็นเป็นสุข ปลอดภัยจากอบายภูมิ
วิรัติวัดศีล
เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ เจตยิตฺวา กมฺมํ กโรติ กาเยน วาจาย มนสา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรม บุคคลคิดแล้วจึงทำ กรรมด้วยกาย วาจา ใจ
บ่อเกิดแห่งความสุข
ศีลเป็นประดุจฐานที่ตั้งอันมั่นคงที่จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างปลอดภัยและมีชัยชนะ กาย วาจา ที่ได้รับการอบรมในกรอบของศีลอย่างดีแล้ว จะก่อให้เกิดพลังใจที่ตั้งมั่นผ่องใสเป็นปกติ ผู้รักษาศีลจึงเป็นผู้ที่มีความสุขในทุกช่วงของชีวิต
เหตุแห่งความมีอายุยืน
“..ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม เหมือนร่มใหญ่ที่กางกั้นฝนในฤดูฝนหรือกันแดด ในฤดูร้อน เพราะฉะนั้นธรรมบาลกุมารย่อมได้รับการคุ้มครองโดยธรรม เราจึงเชื่อว่า เขาต้องไม่ตายแน่นอน..”