การแสดงตนเป็นพุทธมามกะที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
เวลาสวดบูชาพระรัตนตรัย และกล่าวย้ำตอนท้ายว่า “พุทโธ เม นาโถ, ธัมโม เม นาโถ, สังโฆ เม นาโถ” ไม่ถือว่าเป็นการกล่าวว่าเราขอเป็นพุทธมามกะหรือคะ
เพื่อโอกาสแห่งศรัทธาบวชพระในพรรษา ๓ โครงการ
ยังเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง ที่การบวชพระช่วงเข้าพรรษาในแต่ละวัดทั่วประเทศมีจำนวนน้อย หลายวัดมีเพียงเพื่อให้ครบ ๕ รูป ตามจำนวนในพุทธบัญญัติที่จะสามารถรับกองกฐินของศรัทธาญาติโยมที่จะมาถวายในช่วงออกพรรษาเท่านั้น
นันทชาดก-ชาดกว่าด้วยความมานะถือตัว
เมื่อฤดูฝนอย่างกรายมาถึงพระภิกษุทั้งหลายก็อยู่จำพรรษาตามพุทธบัญญัติ มิได้ออกเที่ยวจาริกที่ใดๆได้ตามปกติเป็นเวลานาน 3 เดือน ครั้นวสันตฤดูผ่านพ้นภิกษุในพระเชตะวันมหาวิหารก็พร้อมที่จะเดินทางออกไปเผยแผ่พุทธธรรมดังที่เคยกระทำต่อเนื่องกันมาอีกครั้ง
กปิชาดก ชาดกว่าด้วยการโกหกหลอกลวง
ดาบสน้อยกำลังจะเอื้อมมือเปิดประตูให้แขกผู้มาขอพักหนาว ทันใดนั่นเองพระฤาษีผู้เป็นบิดาก็คว้าคบไฟชิงก้าวตัดหน้าออกไปก่อน “ ช้าก่อนดาบสน้อยของพ่อ อาคันตุกะตัวนี้มิใช่ฤาษีที่ไหนหรอกลูก หากแต่เป็นผู้หลอกลวงเรา ด้วยเอาหนังเสือและชฎาจากซากศพฤาษีที่ตายแล้วมาห่ม หวังพักผิงไฟแก้หนาวก็เท่านั้น ”
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ
ภาคีส่งเสริมพระพุทธศาสนาระหว่างประเทศ จัดถวายเทียนพรรษา
ภาคีส่งเสริมพระพุทธศาสนาระหว่างประเทศ จัดพิธีถวายเทียนพรรษาและถวายมหาสังฆทาน แด่พระมหาเถรานุเถระ และองค์คณะผู้บริหารศูนย์กลางองค์การพุทธศาสนาสัมพันธ์ลาวกว่า 30 วัด
หลักวินิจฉัยว่าใครคือพุทธเถรวาท
หัวใจของพุทธศาสนาคือ พระรัตนตรัย เกณฑ์การวินิจฉัยว่าใครเป็นพุทธเถรวาทหรือไม่จึงอยู่ที่ว่า เขาเคารพบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรือไม่
"เข้าพรรษา" ช่วงเวลาของการเพิ่มพูนความดี
เทศกาลเข้าพรรษาเวียนมาอีกครั้งหนึ่ง ในปีนี้เป็นปีอธิกมาส คือ เป็นปีที่มีเดือน ๘สองหน วันสำคัญในทางศาสนาของปีนี้จึงเลื่อนไป ๑ เดือน ตามข้อกำหนดของการนับวันของประเทศไทย ทำให้วันมาฆบูชาเลื่อนไปตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ และวันวิสาขบูชาตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
พระภิกษุ ทายาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
บิณฑบาต หมายถึง อาหารที่ใส่ลงในบาตรพระ, อาหารถวายพระ; ในภาษาไทย หมายถึง การรับของใส่บาตร เช่น พระไปบิณฑบาต คือ ไปรับอาหารที่เขาจะใส่ลงในบาตร