วันวิสาขบูชา 2567 ประวัติวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา Visakha Puja วันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลโลก วันพุธที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 วิสาขบูชา ย่อมาจากคำว่า “วิสาขปุรณมีบูชา” แปลว่า การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (คือเดือน 6) ประวัติ ความเป็นมาของวันวิสาขบูชา
กำหนดการวันวิสาขบูชานานาชาติออนไลน์ ผ่าน ZOOM
กำหนดการวันวิสาขบูชานานาชาติออนไลน์ ผ่าน ZOOM วันพุธที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 พิธีจุดวิสาขประทีป, เจริญพระพุทธมนต์ และฉลองชัยชิตัง เม สวดธรรมจักรครบ 3,406,000,000 จบ
วันวิสาขบูชามีความสําคัญอย่างไร
วันวิสาขบูชามีความสําคัญ คือ เป็นวันเพ็ญเดือนหก ซึ่งตรงกับวันประสูติ ตรัสรูิ และปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในวันเพ็ญเดือนเดียวกันทั้ง 3 วาระ และได้รับการยกย่องให้เป็นวันสำคัญสากลของโลก
กิจกรรมวันวิสาขบูชา 2560 ณ วัดพระธรรมกาย ปทุมธานี
กิจกรรมวันวิสาขบูชา กำหนดการงานบุญวิสาขบูชา ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี ปี 2560
วิสาขบูชา วันสำคัญของชาวโลก
คนทั่วไปมองว่า วันวิสาขบูชาซึ่งเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานเป็นวันพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งก็ถูก แต่ถ้าจะให้เกิดประโยชน์แก่ตัวเราจริง ๆ วันวิสาขบูชาควรเป็นวันที่เราพิจารณาตัวเองว่า ขณะนี้เรากำลังดำเนินชีวิตไปในเส้นทางใด แล้วเส้นทางนั้นจะนำเราไปสุคติโลกสวรรค์หรือไปอบายการตรวจสอบว่า เรากำลังเดินถูกทางหรือไม่
วัดพระธรรมกายถูกจัดเป็น 1 ใน 6 สถานที่หลักจัดงานวิสาขบูชา 2558
วัดพระธรรมกายถูกจัดเป็น 1 ใน 6 สถานที่หลักจัดงานวิสาขบูชา 2558 โดยเว็ปไซต์ MThai
อานิสงส์บูชาการอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การอุบัติเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้ ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญโคจรไปในอากาศ สว่างกว่าหมู่ดวงดาวด้วยกำลังแห่งรัศมี เฉกดังพระชินสีห์เมื่ออุบัติในโลก รุ่งโรจน์กว่าสัตว์ทั้งมวล
วัดภาวนาหยางจูร่วมงานวันวิสาขบูชาของประเทศเกาหลีใต้
วัดภาวนาหยางจู ร่วมงานวันวิสาขบูชา ของประเทศเกาหลีใต้
สหรัฐเปิดทำเนียบขาวจัดวิสาขบูชาโลกครั้งแรก
เมื่อวันที่ 14 พ.ค. ที่ผ่านมาประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดกิจกรรมการเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชาวันสำคัญสากลของโลกที่ทำเนียบขาวได้มีชาวพุทธทั้งพระและฆราวาสหลายนิกายเข้าร่วม
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา