ผลการปฏิบัติธรรมพระธรรมทายาทครูผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลก รุ่นแรกของโลก
กินยาดอง ดับอนาถ ตอนที่ 1
ทันทีที่ลูกชายคุณป้าของตัวลูก ได้ดื่มยาดองเหล้าพร้อมกับเหล้าขาวเข้าไป ฤทธิ์ของยาดองเหล้าและเหล้าขาวก็ได้ไปทำปฏิกิริยาภายในร่างกายของเขา โดยทำให้ระดับแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดมีปริมาณที่มากเกินกว่าที่ร่างกายของเขาจะรับได้
Inspiration camp
โลกต้องการคนรุ่งใหม่ ที่กล้าเปลี่ยนแปลงโลก ด้วยความดีงานโลกวันหน้าจะเปลี่ยนไป หากคนรุ่นใหม่กล้าคิด กล้าทำ สิ่งที่ดีงาม ความงดงามของโลกเกิดได้ด้วยความดีงามของมนุษย์แต่ละยุค แต่ละสมัย
กรรมของการลบหลู่พระพุทธเจ้า
สรรพชีวิตต้องตาย เพราะความตายเป็นที่สุดของชีวิต เมื่อตายแล้วสัตว์ทั้งหลายจักไปตามกรรม ไปเสวยผลแห่งบุญ และบาปที่ตนได้กระทำไว้ ผู้มีกรรมเป็นบาปจะไปสู่นรก ส่วนผู้มีกรรมเป็นบุญจะไปสู่สุคติ เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำแต่กรรมดีงาม อันจะนำไปสู่สุคติในสัมปรายภพ บุญทั้งหลายที่ได้ทำสั่งสมไว้ ย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
อานิสงส์โปรยกลีบกุหลาบ (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 6
อานิสงส์ข้อที่ 6.ด้วยอานิสงส์ที่ลูกๆ นักเรียนโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา ได้ตั้งจิตมาแต่ไกลตั้งใจมาจากบ้าน มาร่วมบรรจงเด็ดกลีบกุหลาบ เพื่อมาร่วมต้อนรับคณะพระธุดงค์จำนวน 1,127 รูป ในเส้นทางมหาปูชนียาจารย์แล้วก็ได้มาโปรยกลีบกุหลาบด้วยตัวลูกเอง
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๒
ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
โทษภัยจากคำส่อเสียด
ดูก่อนนายสารถี นรชนเหล่าใดไม่เชื่อถือถ้อยคำของคนส่อเสียด ผู้มุ่งทำลายความสนิทสนม นรชนเหล่านั้น ย่อมได้ประสบความสุข เหมือนคนไปสวรรค์ฉะนั้น
กรรมตามสนอง
ผู้ใดประทุษร้ายต่อนรชนผู้ไม่ประทุษร้าย ผู้บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลสดุจเนิน บาปย่อมกลับถึงผู้นั้นซึ่งเป็นคนพาล เหมือนธุลีอันละเอียด ที่ซัดไปทวนลมฉะนั้น
จะเป็นพระแท้ทุกลมหายใจ
หลังจากใช้ชีวิตที่แสนมั่วซั่ว พระธรรมทายาท สิทธิกร วรวิชฺโชก็ได้มาบวชอยู่ในโครงการ 1 แสนรูปของวัดพระธรรมกาย ทำให้เวลานี้ท่านมีผลการปฏิบัติธรรมที่ดีมากๆ มีความสุขจากสมาธิ เห็นดวงแก้วขนาดใหญ่เท่ากำปั้น สว่างเด่นอยู่กลางท้องอย่างง่ายๆ
หนังสือสมบัติผู้ดี สมบัติที่ดีนี้มาจากไหน
สมบัติผู้ดี คำว่า “สมบัติผู้ดี” นั่นไม่ใช่คำพูดเปรียบเปรย สั่งสอนแต่เพียงอย่างเดียว คำว่า “สมบัติผู้ดี” นั่นเป็นชื่อหนังสือ ซึ่งเรียบเรียงโดยเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) ท่านทรงเรียบเรียงไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2455