บวช..คำตอบสุดท้ายของชีวิตในสังสารวัฏ
ท่านพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวานับเป็นตัวอย่างที่น่าอัศจรรย์ของผู้เห็นภัยในสังสารวัฏนอกจากจะละสมบัติมากถึง ๘๗ โกฏิออกบวชแล้วยังชวนน้องสาว ๓ คน คือ นางจาลา นางอุปจาลา นางสีสุปจาลาและน้องชายอีก ๒ คน คือ จุนทะ อุปเสนะ ให้บวชทั้งหมด
หลุดพ้นจากสังสารวัฏ
ท่านพิจารณาเห็นธาตุทั้งหลายว่าเป็นทุกข์แล้ว อย่าเกิดอีก ท่านสำรอกความพอใจในภพแล้ว จงเป็นผู้สงบระงับเที่ยวไปเถิด
ชีวิตในสังสารวัฏ
เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง เราและเธอทั้งหลายได้ท่องเที่ยวไปในชาตินั้นๆ ตลอดกาลนาน อริยสัจ ๔ เหล่านี้ เราและเธอทั้งหลายเห็นแล้ว ตัณหาที่จะนำไปสู่ภพถอนขึ้นได้แล้ว มูลแห่งทุกข์ตัดขาดแล้ว บัดนี้ภพใหม่ไม่มี
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 4
คุณลักษณะพระนิพพาน มีกล่าวไว้จำนวนมากในพระไตรปิฎก แต่ในที่นี้จะนำมากล่าวเฉพาะคุณลักษณะที่น่าปรารถนา อันมีอยู่ในพระนิพพาน ซึ่งพอจะเทียบเคียงกับความรู้สึกของคนโดยทั่วไปให้เข้าใจได้
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 3
ว่า นิพพานมีอย่างเดียว แต่มองเป็น 2 ด้าน ด้านที่หนึ่งคือ นิพพานในแง่ของความสิ้นกิเลส ซึ่งมีผลต่อการติดต่อเกี่ยวข้องกับโลกภายนอก หรือต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ด้านที่สอง คือ นิพพานในแง่ที่เป็นภาวะจำเพาะล้วนๆ แท้ๆต
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 2
ถ้อยคำที่เกี่ยวข้องกับนิพพานมีอยู่หลายคำ อาจจะเกิดข้อกังขาที่ทำให้เข้าใจสับสนได้ โดยเฉพาะในพระไตรปิฎกมีความหมายที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้หลายนัยด้วยกัน
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 1
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของการเกิดมาเป็นมนุษย์ เพราะนิพพานเป็นแหล่งแห่งความบริสุทธิ์ เป็นที่ประชุมของผู้บริสุทธิ์ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอรหันต์ทั้งปวง
ปกิณกธรรม ชีวิตสุดท้ายในสังสารวัฏ
ชีวิตสุดท้ายในสังสารวัฏ ไม่ต้องคำนึงถึงอาหาร ไม่ต้องคำนึงถึงความเจ็บไข้ได้ป่วย บุญของทุกๆคนจะบันดาลให้สมความปรารถนาในทุกอย่าง
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ทางรอดจากสังสารวัฏ
ทันทีที่ พระราชาบรมโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นผมหงอกบนฝ่าพระหัตถ์ ทรงสลดพระทัยพลางสอนตนเองว่า "ดูก่อนเจ้าสุสีมะ บัดนี้เวลาของชีวิตเจ้าล่วงเลยมามากแล้ว การอยู่ครองเรือนตกอยู่ในอำนาจของกิเลสอาสวะเช่นนี้ ไม่ใช่ทางรอดของชีวิต การบรรพชามุ่งทำความบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นเท่านั้น เป็นทางรอดจากสังสารวัฏได้ ถึงเวลาที่เจ้าจะต้องประพฤติพรหมจรรย์แล้ว"
กรมธรรม์ประกันชีวิต (ในสังสารวัฏ)
ลูกก็ไม่ได้ภาวนา “สัมมา อะระหัง” อีก เพราะใจหยุดเฉยๆ ไม่ได้คิดอะไร เชื่อคำคุณครูไม่ใหญ่ที่บอกว่า มีอะไรให้ดูก็ดูกันไป ลูกยิ่งมององค์พระก็ยิ่งงาม ยิ่งมีความสุข เหมือนที่ลูกเคยได้ยินใครเคยบอกไว้ว่า “สุขจริงหนอ สุขจริงหนอ” มันเป็นอย่างนี้นี่เอง ช่างเป็นความสุขที่ไม่อาจบรรยายได้ เป็นความสุขที่มาเติมเต็มให้กับชีวิต ไม่เหมือนความสุขแบบพร่องๆ อย่างที่เคยพบในทางโลก