สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๗ )
บาปอกุศลอันหนักของอลาตเสนาบดียังรอคอยการให้ผลอยู่ แต่ที่เขาได้รับความสุขอยู่ในบัดนี้ เพราะผลบุญที่เคยทำไว้ บัดนี้ผลบุญของอลาตเสนาบดีใกล้จะหมดแล้ว จึงทำให้ยินดีในอกุศล เมื่ออกุศลกรรมให้ผล เขาย่อมเข้าถึงทุคติอย่างแน่นอน
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๖ )
พระราชาสดับเช่นนั้น ทรงปฏิเสธทันทีว่า "ลูก เอาทรัพย์ไปใช้เช่นนี้ไม่เกิดประโยชน์เลย เลิกให้ทานเถิดลูก ลูกควรจะนำทรัพย์ที่พ่อจะให้นี้ ไปใช้จ่ายเที่ยวเล่นสนุกสนานให้เต็มที่ ไม่ต้องไปคิดถึงใคร และภพชาติต่อไปก็อย่าไปกังวล ลูกจงเก็บเกี่ยวความสุขในชาตินี้ให้เต็มที่เถิด"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๕ )
พระพี่เลี้ยงได้ยินข่าวลือว่า "พระราชาทรงฟังถ้อยคำของอาชีวกผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ จึงรับสั่งให้รื้อโรงทานที่ประตูเมืองทั้งสี่ บัดนี้ทรงมัวเมาแต่เบญจกามคุณ มิได้สนพระทัยในพระราชกรณียกิจเลย"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๒ )
วันนี้จะนำเรื่องของผู้ที่ปฏิบัติสวนทางกับพระนิพพาน มาเล่าสู่กันฟัง เป็นเรื่องของผู้ที่ในใจลึกๆ นั้น มีความปรารถนาอยากบรรลุมรรคผลนิพพาน แต่ด้วยวินิจฉัยยังไม่สมบูรณ์ จึงเข้าใจว่าตนเป็นพระอรหันต์ แม้กระนั้นก็ตาม ดวยความเป็นยอดกัลยาณมิตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทำให้ท่านกลับใจ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง
ความสุขของพระโสดาบัน
ความทุกข์ที่หมดไปของอริยสาวกผู้สมบูรณ์ด้วยสัมมาทิฏฐิ บรรลุอริยมรรคแล้ว มีปริมาณมาก ส่วนความทุกข์ที่ยังเหลืออยู่ มีประมาณน้อย ความทุกข์ที่จะมีอีก ๗ อัตภาพเป็นอย่างยิ่งนั้น เมื่อเทียบกันเข้ากับกองทุกข์ที่หมดสิ้นไปอันมีอยู่ในครั้งก่อนแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑,๐๐๐ ไม่เข้าถึงเสี้ยวที่ ๑๐๐,๐๐๐ เลย ภิกษุทั้งหลาย การได้บรรลุอริยธรรม ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้แล การได้ธรรมจักษุ ย่อมให้สำเร็จประโยชน์ใหญ่อย่างนี้
ทำอย่างไรจึงจะทดแทนบุญคุณผู้มีพระคุณได้
วิธีจะทดแทนคุณผู้มีพระคุณอย่างยิ่งของเรา ให้ได้สูงสุดคือ ให้ท่านได้รู้ความจริงเกี่ยวกับโลกและชีวิตเป็นสัมมาทิฏฐิบุคคล แล้วดำเนินชีวิตไปในเส้นทางที่ถูกต้อง