มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - อามิสสุข นิรามิสสุข
เราต้องรู้จักเลือกประกอบแต่สัมมาอาชีวะ ให้ธุรกิจกับจิตใจไปด้วยกัน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงมิจฉาอาชีวะ ที่ไม่ควรประกอบไว้ ๕ อย่าง คือ ค้าอาวุธ ค้ามนุษย์ ค้ายาพิษ ค้าสุรายาเสพติด และค้าสัตว์เพื่อนำไปฆ่า นอกจากนี้ ยังต้องคำนึงถึงอาชีพที่ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และไม่ผิดศีลผิดธรรมด้วย
อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
ความสุขเริ่มต้นที่ไหน
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าความสุขใครๆ ก็ต้องการแต่ไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นที่ตรงไหน
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา มีอะไรบ้าง
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
ศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ ขอเรียนเชิญผู้มีบุญร่วม พิธีสักการะดอกไม้พระมงคลเทพมุนี ครั้งที่ 2
ศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ ขอเรียนเชิญผู้มีบุญร่วมกันแสดงความกตัญญูบูชาคุณในพิธีสักการะดอกไม้ ครั้งที่ 2 แด่มหาปูชนียาจารย์ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ในวันเสาร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2554
แผนผังพิธีเวียนประทักษิณในวันวิสาขบูชานี้
แผนผังพื้นที่ประกอบพิธีเวียนประทักษิณ วันวิสาขบูชา Vesak Day วันที่ 17 พฤษภาคม 2554 ณ มหารัตนวิหารคด และลานธรรมมหาธรรมกายเจดีย์ วัดพระธรรมกาย
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - การบูชาที่แท้จริง
พระธรรมารามเถระ แปลว่า ผู้ยินดีในการปฏิบัติธรรม เมื่อ ท่านรู้ว่า อีกไม่นานพระพุทธองค์จะปรินิพพาน ก็มีความคิดว่า ตัวเราเองยังไม่บรรลุคุณวิเศษอะไรเลย อีกไม่นานพระพุทธองค์ก็จะปรินิพพานแล้ว อย่ามัวเสียเวลาเลย เราจะบูชาธรรมพระพุทธองค์ด้วยการปฏิบัติธรรมให้บรรลุอรหัตให้ได้ โลกทั้งโลกของท่านมีแต่การทำหยุดในหยุดอย่างเดียว ลมหายใจของท่านเป็นไปเพื่อการหยุดนิ่งเท่านั้น