พระสถูปเจดีย์ คือ สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา
ร้างขาดการดูแล จนกระทั่งมีนักโบราณคดีทำการขุดค้นโบราณสถานต่าง ๆ ในอินเดีย...
"ปลื้ม" หัวใจของการสร้างบุญ
คำว่าปลื้มเป็นคำทั่วไปที่เราใช้กันคุ้นเคยแต่ศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่าปลื้มก็คงเป็นคำว่า “ปีติ” (ไม่ใช่ปิติ) ปีติมี ๕ ประการ
อุทยชาดก ชาดกว่าด้วยบารมี 10 ทัศ
พระเจ้ากาสีทรงอภิเษกพระราชโอรสอุทัยภัทรและพระราชธิดาอุทัยภัทราซึ่งเป็นบุตรของตนทั้งสองพระองค์ พระราชโอรสและพระราชธิดาประทับอยู่ด้วยกันแต่ก็มิได้ทรงทำร้ายอินทรีย์ทอดพระเนตรกันด้วยความโลภ...ต่างก็ประพฤติพรหมจรรย์
ประโยชน์ของการสร้างวัดใหญ่
ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมะทีละเรื่องและทยอยบัญญัติพระวินัยทีละสิกขาบทเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ในยุคนั้นไม่มีวิทยุ ไม่มีโทรทัศน์ ไม่มีอินเตอร์เน็ต ไม่มีการพิมพ์หนังสือ แล้วคณะสงฆ์ซึ่งกระจายตัวอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ อย่างกว้างขวางทั่วอินเดีย จะรู้ได้อย่างไรว่าขณะนี้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยขึ้นใหม่อีกกี่สิกขาบทแล้ว และถ้าไม่รู้ ถือพระวินัยไม่เท่ากันสวดปาฏิโมกข์ก็มีสิกขาบทไม่เท่ากัน คณะสงฆ์ก็ย่อมขาดเอกภาพ
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
จับเสือมือเปล่า
การทำเงินเเบบ "จับเสือมือเปล่า" เป็นอย่างไร? จับเสื้อมือเปล่าเเตกต่างกับเสือนอนกินอย่างไร? การจับเสือมือเปล่าต้องทำอย่างไร? โภคะเกิดแก่ผู้มีบุญ สิริชาดก
สูกรชาดก ชาดกว่าด้วยสุกรท้าสู้ราชสีห์
ราชสีห์ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในถ้ำ วันหนึ่งมันเดินไปกินน้ำในสระ ซึ่งเป็นที่รวมของบรรดาสัตว์ทั้งหลาย เพื่อมากินน้ำ ระหว่างน้ันมันมองเห็นหมูตัวหนึ่งเที่ยวหากินอยู่ริมสระ มันจึงเดินหลบไป กลัวหมูจะเห็น และเกรงว่าวันถัดไปหมูจะไม่กล้ามาที่สระน้ำอีก เจ้าหมูเหลือบไปเห็นเข้าพอดี ก็เกิดความเข้าใจผิดคิดว่าราชสีห์กลัวตน จึงวิ่งเข้าไปท้าทายขอต่อสู้กับราชสีห์
ขันติวัณณชาดก ชาดกว่าด้วยต้องอดใจในคนที่หาคุณธรรมยาก
อำมาตย์ของพระเจ้าโกศลผู้หนึ่ง ผู้มีอุปการะมากได้ลอบเป็นชู้กับนางสนมของพระเจ้าโกศล พระราชาแม้ทรงทราบ ก็ทรงอดกลั้นนิ่งไว้ด้วยคิดว่า เป็นผู้มีอุปการะแก่เรา.......
มตกภัตตชาดก ชาดกว่าด้วยสัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์
“เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ถ้าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้อย่างนี้ว่า ความเกิดมี ของชาติภพนั้น เป็นทุกข์เช่นนี้ สัตว์จึงไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะผู้มีปกติข้าสัตว์ ย่อมได้รับความเศร้าโศก ด้วยต้องเสวยมหันตทุกข์ตลอดกาลนาน เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ผู้ทำสัตว์อื่นให้เจริญ ย่อมได้ความเจริญในชาติสมภพ เมื่อเบียดเบียนสัตว์อื่นย่อมได้รับการเบียดเบียนเช่นกัน ดังนี้จึงไม่ควรฆ่าสัตว์อื่น อีกอย่างหนึ่ง ทุกท่านล้วนได้เห็นแล้วว่า แพะนี้เศร้าโศกแล้วเพราะมรณะภัยฉันใด ผู้มีปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศกตลอดกาลนานฉันนั้น ดังนี้แล้วไม่ว่าผู้ใดก็ตาม จึงไม่ควรกระทำกรรมคือ ปานาติบาต ไม่ควรฆ่าสัตว์ด้วยเหตุผลดังนี้”
กาญจนักขันธชาดก ชาดกว่าด้วยธรรมะมีค่าดั่งทองคำ
ในอดีตกาล ณ กรุงพาราณสี มีชายชาวนาผู้ขยันคนหนึ่ง ได้จับจองที่ดินรกร้างว่างเปล่า เพื่อถากถางเป็นที่นาของตน ซึ่งที่ดินแห่งนี้เมื่อในอดีต เคยเป็นที่ตั้งบ้านของเศรษฐีผู้มาก่อน วันหนึ่งขณะที่กำลังไถนาอยู่นั้น ผานไถ ( เหล็กสำหรับสวมหัวหมูเครื่องไถ) ก็ไปสะดุดติดอยู่กับของแข็งๆ ท่อนหนึ่งในดิน เขาจึงเอามือขุดคุ้ยก้อนดินดู ปรากฎเป็นแท่งทองคำขนาดใหญ่ฝังอยู่ในดิน