พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชสมัยแห่งการฟื้นฟู
ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรีทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์ ทรงฝากตัวเป็นศิษย์กับพระวันรัต (ทองอยู่) เพื่อเข้ารับการศึกษาเบื้องต้น ณ สำนักวัดระฆังโฆสิตาราม เดิมเรียกว่า วัดบางหว้าใหญ่
พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”
บูรพกษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สันนิษฐานว่าพระไตรปิฎกภาษาบาลีเข้ามาสู่ประเทศไทยใน ๒ ช่วง คือประมาณปี พ.ศ. ๑๖๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเถรวาทเผยแผ่จากประเทศพม่าเข้าสู่ภาคเหนือของไทย และประมาณปี พ.ศ. ๑๘๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่ จากประเทศศรีลังกามาทางนครศรีธรรมราช
หีดธัมม์ งานศิลป์ ถิ่นเหนือ
หีดธัมม์ หรือ หีดธรรม เป็นคำที่ชาวเหนือใช้เรียกหีบเก็บคัมภีร์ใบลาน มีใช้สืบต่อกันมาแต่โบราณกาลในดินแดนล้านนา ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์ใบลานที่จารด้วยอักษรธรรมล้านนาซึ่งเป็นอักษรที่ใช้อย่างแพร่หลายบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย หีบพระธรรมที่ใช้ในภูมิภาคนี้นับว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างจากหีบเก็บคัมภีร์ใบลานของภาคอื่น เพราะมีลักษณะเป็น “ทรงลุ้ง” คือเป็นทรงสี่เหลี่ยม ด้านล่างของฐานสอบเข้า ส่วนปากหีบผายออก มีฝาครอบปิดด้านบนซึ่งมีหลายลักษณะทั้งฝาตัด ฝาคุ้ม และฝาเรือนยอด
Getting to Know Wat Phra Dhammakaya
From no land to a large tract of land From fallow fields to a graceful Buddhist temple From 1 Bhikku to tens to hundreds to a thousand and increasing From 100 laypeople to 1,000, 10,000, 100,000 and 1 million in the future
กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-22 ดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแถบประเทศลาว ตลอดจนภาคอีสานของไทยเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านช้างที่มีความรุ่งเรืองด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นยุคที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับอาณาจักรล้านนา จึงได้น้อมรับเอาอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมการจารคัมภีร์ใบลานด้วยอักษรธรรมตามแบบฉบับล้านนามาพัฒนาจนเป็นอักษรธรรมอีสานหรืออักษรธรรมลาวเพื่อใช้จารจารึกคัมภีร์ในอาณาจักรล้านช้าง
แลใบลาน ก่อนกาลล่วงเลย
สรรพสิ่งย่อมเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา บางสิ่งที่เคยมีคุณค่า ณ ช่วงเวลาหนึ่ง แต่ทว่าเมื่อเวลาผ่านไปมีสิ่งใหม่เข้ามาแทนที่ ของเดิมที่เคยมีคุณค่าก็อาจกลายเป็นเพียงความทรงจำในอดีต ทั้งที่ความจริงแล้วคุณค่าและความสำคัญของสิ่งนั้นไม่ได้ลดลงเลย เพียงแต่ถูกบดบังจนทำให้คุณค่าภายในที่แท้จริงถูกมองข้ามไปอย่างน่าเสียดายคัมภีร์ใบลานแม้ศักดิ์สิทธิ์สูงค่าก็ไม่อาจพ้นจากสภาวธรรมนี้ไปได้
History of the End of Buddhist Lent Day
The final day of Buddhist Lent falls on the 15th day of the 11th waxing moon. This day marks the end of the three months Rains-retreat known as ‘Buddhist Lent’ in which monks had earnestly dedicated themselves to the study of Buddhist scriptures and meditation practice.
รักษ์ศาสน์ วาดศิลป์ แผ่นดินสยาม
บรรพชนชาวสยามน้อมรับเอาพระพุทธศาสนามานับถือและรักษาไว้ ไม่ว่าจะเปลี่ยนผ่าน มากี่ยุคสมัย ผ่านมากี่แผ่นดิน อาณาประชาราษฎร์ล้วนอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นเป็นสุขภายใต้ พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ปกครองแผ่นดินโดยธรรมตามหลักพระธรรมคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
History of the Rain Retreat
The Rain Retreat had not existed yet during the initial years of Buddhism. Therefore, throughout any given year, when a monk needs to visit the people in order to teach Dhamma, the journey was made when time permitted.