การทำกายบริหารในท่านั่งเบื้องต้น ตอนที่ 1
รายละเอียดของกายบริหารในท่านั่ง ได้แก่ ท่าเตรียมพร้อม, กายบริหารท่าที่ 1 และกายบริหารท่าที่ 2
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จะส่งผลให้กล้ามเนื้อ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของโครงสร้างของร่างกาย มีความแข็งแรง มีความทนทานสูง มีความยืดหยุ่น และมีความคล่องตัว ย่อมส่งเสริมให้การรักษาภาวะสมดุลโครงสร้างของร่างกายมีประสิทธิยิ่งขึ้น
การลุกจากที่นอน
คนเราต้องฝึกบริหารร่างกายอย่างน้อยวันละครั้ง แต่ดีที่สุดควรเป็น วันละ 2-3 ครั้ง คือ ตอนเช้าเมื่อตื่นนอน ตอนกลางวันช่วงพักจากการทำงาน และตอนเย็นก็บริหารอีกรอบ เพื่อจัดโครงสร้างของร่างกายให้เข้าที่ก่อนจะพักผ่อน
นวดอย่างไร จึงจะเหมาะสมสำหรับผู้ปฏิบัติธรรม (2)
ผู้ปฏิบัติธรรมส่วนใหญ่ มักจะมีปัญหาเรื่องปวดหลังเพราะชอบเผลอนั่งหลังงอ ปัญหานี้สามารถนวดคลายอาการปวดหลังด้วยตนเองได้ง่ายๆ
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น
วิธีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อมีอยู่หลายวิธี เช่น การนวด โยคะ ฤๅษีดัดตน การฝังเข็ม เป็นต้น ถ้าปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของแต่ละวิธี ย่อมสามารถคลายกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (2)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งขับรถ, ท่ายืน เดิน วิ่ง, ท่ายกสิ่งของที่พื้น, ท่านอนที่ถูกต้อง
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (1)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ ท่านั่งเทพบุตร ท่านั่งบนเก้าอี้ และท่านั่งอ่านหนังสือบนโต๊ะ
ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
ภูมิแพ้ และหอบหืด - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้จะมีอาการน้ำมูกไหลไม่หยุด ทั้งนี้เพราะระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติคที่ทำหน้าที่ควบคุมการหยุดหลั่งน้ำมูก ซึ่งผ่านมาทางคอและทางท้ายทอยถูกปิดกั้น ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ตามปกติ
ปวดข้อ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ตามธรรมดาเมื่อมีอาการปวดข้อ คนเราก็สนใจดูแลเฉพาะแต่ตรงข้อ หรืออย่างมากก็บอกว่า กล้ามเนื้อตรงบริเวณข้อไม่แข็งแรง จึงพยายามบริหารกล้ามเนื้อตรงข้อนั้นให้แข็งแรง แต่ความจริงมีอยู่ว่า กล้ามเนื้อที่ไม่ได้รับสัญญาณประสาทจากสมองจะบริหารอย่างไรก็ยากที่จะกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม