พี่ชายเปลี่ยนไป
พี่ชายเคยเป็นคนนิสัยดี รักพี่รักน้อง เรียนเก่ง พอเข้ามหาวิทยาลัยก็เปลี่ยนไปเป็นคนละคน ดื่มเหล้า อาละวาดกับแม่...เป็นเพราะเหตุใด
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - แรงบันดาลใจ ( ๒ )
พระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า นัคคชิ พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นหญิงคนหนึ่งที่สวมกำไลแก้วมณี แล้วทรงดำริว่า กำไล แขนนี้ เมื่ออยู่ข้างละอันไม่กระทบกัน ครั้นเมื่อย้ายมาอยู่รวมกันจึงกระทบกัน สัตว์ทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน หากแยกกันอยู่จะไม่ส่งเสียง ไม่ทำร้ายกัน เมื่อมี ๒ คน หรือ ๓ คนขึ้นไป จะกระทบกระทั่งกัน มีการทะเลาะวิวาททำร้ายกันเป็นต้น
ฉัน love เธอ...ทุกเวลา
ครอบครัวผู้นำบุญชาวอีสาน...คุณพ่อของเธอเป็นผู้นำบุญชาวอีสาน ในวัยหนุ่มโดนโจรปล้นหลายครั้ง แต่ละครั้งถูกทำร้ายปางตาย จนต้องพาครอบครัวหนีโจร...เธอกับสามี แม้จะทะเลาะกันหลายครั้ง แต่ด้วยความรักที่มีให้แก่กัน ห่างกันแค่วันเดียวก็คิดถึงกันจนต้องกลับมาคืนดีกันทุกครั้ง ทั้งคู่รวมทั้งลูกสาวอีกสามคน ทุกคนเข้าใจเรื่องการสร้างบารมี...ครอบครัวของเธอประสบปัญหา ลูกสาวคนโตถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายหลายล้านบาท ลูกสาวคนเล็กใช้เงินเกินตัว...เธอจะทำอย่างไร
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๖ ( ผู้ผดุงความยุติธรรม )
หนุ่มชาวนาตื่นขึ้นมาไม่เจอโคของตน ก็รีบวิ่งออกติดตามรอยเท้าโคไป เมื่อตามไปพบก็ร้องบอกโจรให้นำโคคืนมา ตนจะไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร แต่เหตุการณ์กลับตรงข้าม เพราะโจรอ้างว่าโคนี้เป็นของเขา เมื่อไม่ยอมกันทั้งสองเกิดการทะเลาะวิวาท ชาวบ้านจึงพามาหามโหสถให้ช่วยตัดสินว่า ใครเป็นเจ้าของโคตัวนี้กันแน่
ปู่โสมเฝ้าทรัพย์
สัจจังกิรชาดก ชาดกว่าด้วยไม้ลอยน้ำดีกว่าคนอกตัญญู
พระฤาษีได้ช่วยเหลือทุฏฐกุมารผู้มีใจโหดร้ายให้รอดพ้นจากกระแสน้ำที่ไหลหลาก แต่ทุฏฐกุมารกลับโกรธแค้นที่ฤาษีดูแลและให้ความสำคัญกับชีวิตสัตว์มากกว่าตน เลยผูกใจเจ็บและได้สั่งตัดหัวพระฤาษีทันทีเมื่อได้โอกาส
รูปแบบที่ทำให้รักเป็นพิษ
พฤติกรรมที่ทำให้ความรักเป็นพิษ
กุลาวกชาดก ชาดกว่าด้วยการเสียสละ
พระศาสดาครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ตรัสกับภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทั้งหลายในกาลก่อนครองราชย์สมบัติในเทวโลก ถึงจะสละชีวิตของตนก็ไม่กระทำปานาติบาตรด้วยประการดังนี้ เธอชื่อว่าบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เห็นปานนี้เหตุใดจักดื่มน้ำมีตัวสัตว์มิได้กรองเล่า
หลักการขยายกิจการให้เจริญรุ่งเรืองทั้งทางโลกและทางธรรม
ผมได้มาร่วมงานเด็กดีวีสตาร์ ได้เห็นการบริหารจัดการที่ดี ทำให้การรวมตัวกันของนักเรียนเป็นแสน ๆ คน ดำเนินไปได้อย่างดี จึงใคร่รู้ว่าวัดมีหลักการอย่างไรในการจะวัดศักยภาพการทำงานของเราว่าจะมีพอรองรับงานขนาดไหน ผมจะได้นำไปเป็นแนวทางในการตัดสินใจขยายกิจการว่าควรขยายหรือไม่
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ