อานิสงส์สร้างหอฉัน
เราได้ให้คนไปบอกกับนายช่างไม้ ให้ทรัพย์แล้ว จ้างให้ทำศาลาโรงฉัน ด้วยบุญนั้นเราอยู่ในเทวโลกตลอด ๘ กัปโดย ในกัปที่เหลือเราท่องเที่ยวไปในสุคติภูมิ ความบริบูรณ์ในโภคทรัพย์สมบัติย่อมเกิดกับเรา ยาพิษย่อมไม่กลํ้ากรายในกายเรา และศาสตราไม่กระทบกายเรา เราไม่เคยตายในน้ำ นี้เป็นผลแห่งการสร้างศาลาโรงฉัน
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 2 : ระดับชั้นของรูปพรหม
ในบรรดารูปพรหมทั้งหลายยังมีการแบ่งระดับชั้นตามภูมิที่อยู่ ซึ่งมีทั้งหมด 16 ชั้น มีหลักการแบ่งชั้น คือ แบ่งตามระดับความแก่อ่อนของกำลังฌาน
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๖)
การประพฤติปฏิบัติธรรมด้วยการหมั่นทำใจหยุดใจนิ่งนี้จะนำความสุข และความบริสุทธิ์ให้บังเกิดขึ้นในชีวิต
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 3 สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนเหลือเกินที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยเหลือเกินฉะนั้น
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - จิตสะอาดปราศจากธุลี
วันนั้นเป็นคืนเดือนหงาย พระสารีบุตรท่านเพิ่งปลงผมใหม่ๆ ก็นั่งทำสมาธิอยู่กลางแจ้ง เผอิญมียักษ์สองตนเหาะผ่านมา ยักษ์ตนหนึ่งเป็นมิจฉาทิฏฐิ ส่วนอีกตนหนึ่งเป็นสัมมาทิฏฐิ พอเห็นพระสารีบุตรนั่งอยู่อย่างนั้น ยักษ์มิจฉาทิฏฐิซึ่งในอดีตเคยผูกอาฆาตพระสารีบุตรไว้ จึงบอกกับเพื่อนยักษ์ว่า "นี่เพื่อน เราจะทุบศีรษะของสมณะองค์นี้นะ"
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ดื่มรสแห่งธรรม
ภิกษุผู้ที่เล่าเรียนพระปริยัติธรรมเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบได้แม้แต่ข้อเดียว จึงนั่งก้มหน้านิ่งอยู่ ส่วนภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมจนเป็นพระอรหันต์ สามารถตอบปัญหาธรรมได้ทุกข้อ อย่างแจ่มแจ้งฉะฉานไม่มีติดขัด พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญ ชื่นชม อนุโมทนาสาธุการพระเถระ
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ความทุกข์ในการครองเรือน
อยู่มาวันหนึ่ง เศรษฐีกรุงพาราณสีได้เกิดความคิดอย่างนี้ขึ้น ด้วยความรักและความคุ้นเคยในพระโพธิสัตว์ว่า "ชื่อว่าการบวชเป็นทุกข์ เรายังปริพาชกชื่อว่า วัจฉนขะ ผู้เป็นสหายของเราให้สึก แล้วแบ่งสมบัติทั้งหมดให้แก่ปริพาชกไปครึ่งหนึ่ง เราทั้งสองก็จักอยู่ด้วยความปรองดองกัน"
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - เป็นผู้ประเสริฐด้วยการปฏิบัติ
พระอินทร์ได้ฟังคำอธิบายเช่นนั้น ทรงหายสงสัยในการบำเพ็ญตบะของพระฤๅษี ด้วยตระหนักชัดแล้วว่า ท่านไม่ได้ปรารถนาตำแหน่งท้าวสักกะ หรือความเป็นพระราชา มหาเศรษฐีเลย หากท่านมีความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่ คือ ปรารถนา อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันประเสริฐ ซึ่งยากที่มนุษย์ธรรมดาจะกล้าคิดกล้าทำ