เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ความปลื้มจากใจกองพันเนื้อนาบุญ ตอน ยิ่งก้าวยิ่งสว่างยิ่งทำให้หนักแน่นในการบวช
ความปลื้มจากใจกองพันเนื้อนาบุญ ตอน...ยิ่งก้าวยิ่งสว่างยิ่งทำให้หนักแน่นในการบวช
มงคลที่ ๑๙ งดเว้นจากบาป - อย่าล่วงละเมิดเกินขอบเขต
การล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม เป็นทางมาแห่งบาปอกุศล และเป็นความหมองใจ ที่ชักนำไปสู่อบายได้ การผิดศีลข้อที่ ๓ ในสังคมปัจจุบันนี้ ก็มีกันอยู่เนืองๆ เมื่อผิดพลาดล่วงเกินกันแล้ว ส่วนใหญ่มักไม่รู้ถึงโทษของการล่วงเกิน เหมือนดังพุทธพจน์ที่อุปมาไว้ว่า เหมือนปลาที่กำลังว่ายเข้าไปสู่เครื่องดัก ผลก็คือความตาย
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - สุวรรณสาม ยอดกตัญญู
พระราชาได้สดับถ้อยคำอันอ่อนโยน จึงดำริว่าบุรุษผู้นี้ แม้ถูกเรายิงด้วยลูกศรล้มลงแล้ว ไม่ด่าบริภาษเรา ยังเรียกหาเรา ด้วยถ้อยคำที่อ่อนโยนน่ารัก น่าพอใจจึงเสด็จเข้าไปใกล้ สุวรรณสาม ตรัสว่า เราเป็นพระราชา
สัมผัสที่ 6
สัมผัสที่ ๖ หรือลางสังหรณ์ หรืออาการผุดรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า เกิดขึ้นจากสาเหตุใดได้บ้าง ทำไมบางคนมี บางคนไม่มี
กัณฑินาชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการตกอยู่ในอำนาจสตรี
กุลบุตรตระกูลพราหมณ์ผู้หนึ่ง มีโอกาสได้ฟังธรรมในพระเวฬุวันอันเป็นอารามแรกในพระพุทธศาสนาก็ศรัทธาจนแก่กล้า ประพฤติตนอยู่ในหลักคำสอนตั้งแต่นั้น
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๔ ( ยักษ์จําแลง )
มนุษย์ทุกชาติทุกภาษา ล้วนปรารถนาให้โลกมีสันติสุขที่แท้จริง แต่ไม่มีใครรู้ว่า ทำอย่างไรจึงจะพบกับสันติสุขที่แท้จริง จนกระทั่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงค้นพบว่า วิธีการที่จะทำให้โลกเกิดสันติสุขที่แท้จริงนั้น จะต้องให้มนุษย์ทุกคนในโลกได้เข้าถึงสันติสุขภายในก่อน คือ พระรัตนตรัยซึ่งมีอยู่แล้วภายในตัวของมนุษย์ทุกๆ คน
อย่ามองข้ามการปฏิสันถาร
ดูก่อนสารีบุตร ภิกษุเคารพในพระศาสดา จักไม่เคารพในพระธรรม ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ภิกษุเคารพในพระศาสดา ชื่อว่าเคารพในธรรมด้วย ภิกษุเคารพในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ ในความไม่ประมาท จักไม่เคารพในปฏิสันถาร ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ภิกษุเคารพในพระศาสดา ในธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ ในความไม่ประมาท ชื่อว่าเคารพในปฏิสันถารด้วย
วันนี้วันที่สิบเอ็ดของการเข้าพรรษา : ธรรมชาติ
11 วันแล้วตั้งแต่วันเข้าพรรษา อ่านเรื่องเล่าวันเข้าพรรษา พระธรรมเทศนาโดยหลวงพ่อธัมมชโย ช่วงเข้าพรรษา ปีพ.ศ.2546 มาติดตามกันค่ะ ...
ด่วน!!! รับสมัครเจ้าหน้าที่เพิ่ม