มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - สั่งสมปัญญาบารมี
ความรู้ในพระไตรปิฎกนั้น ยิ่งศึกษายิ่งแตกฉาน ทำให้เราเข้าใจและรู้หนทางไปสู่อายตนนิพพานเพิ่มมากขึ้น เสมือนได้นั่งอยู่เบื้องพระพักตร์ของพระบรมศาสดา กาย วาจา ใจ ของเราจะบริสุทธิ์เกลี้ยงเกลาตามพระองค์ไปด้วย ในตอนนี้จะได้อธิบายเกี่ยวกับหมวดพุทธวจนะ ในพระไตรปิฎก
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 37 ต้นมหาโพธิพฤกษ์
ต้นมหาโพธิพฤกษ์ หรือต้นไม้ตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละยุคสมัย
ในโลกนี้ เราจะหาอะไร ๆ ให้กับใจที่มีกิเลสราคะ กิเลสโทสะ กิเลสโมหะนั้น ไม่มีที่พอ ได้เท่าไหร่มันก็ไม่พอ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ทุกข์และสุข อันมากจากกาม
กามเป็นสิ่งที่ละได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันพิษภัยของมันได้ เหมือนโรคบางอย่างรักษาได้ยากก็จริง แต่ก็ป้องกันมิให้มันเกิดขึ้นได้
ขุดพบพุทธรูปปางไสยยาสน์บามิยัน ในอัฟกานิสถาน
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๗ ( ความจริงปรากฏ )
ครั้นเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตรของพระราชา ไม่ได้สดับธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์หลายวัน และรู้ว่ามโหสถถูกกลั่นแกล้ง คนดีเทวดาต้องคุ้มครองรักษา พระราชาพระองค์นี้เป็นคนหูเบา มีปัญญาน้อย ไม่รู้จักเลือกใช้คนให้เป็น อาศัยกินบุญเก่าเท่านั้นถึงได้มาบังเกิดเป็นพระราชา เทวดาจึงคิดหาวิธี ที่จะให้มโหสถกลับมาอยู่ในราชสำนักตามเดิม เพื่อตนจะได้ฟังธรรมของมโหสถอีก
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(3)
บุคคลย่อมบังเกิดในขัตติยตระกูลเพราะพรหมจรรย์ขั้นต่ำ บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นเทวดาเพราะพรหมจรรย์ชั้นกลาง และบุคคลย่อมบริสุทธิ์ เพราะพรหมจรรย์อย่างสูงสุด
บทสรุปของสวรรค์ทั้ง 6 ชั้น
สวรรค์แต่ละชั้นมีความแตกต่างกันตามกำลังแห่งบุญที่ตนได้สั่งสมไว้ครั้งเป็น มนุษย์ ยิ่งสวรรค์ชั้นที่สูงขึ้นไปมากเท่าไร ยิ่งมีทิพยสมบัติอันวิจิตรอลังการมากขึ้นไปเท่านั้น