ประมวลภาพโครงการบวชผู้นำอุบาสิกาแก้ว 1 ล้านคนกตัญญูบูชา เนื่องในวันวิสาขบูชา
โครงการบวชผู้นำอุบาสิกาแก้ว 1 ล้านคน กตัญญูบูชา เนื่องในวันวิสาขบูชา ระหว่างวันที่ 14 -20 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ณ วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
แนวคิดในการสร้างวัดพระธรรมกาย
การอุทิศชีวิตทำงานสืบอายุพระพุทธศาสนาของวัดพระธรรมกาย เกิดขึ้นจากความเลื่อมใสศรัทธาในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงมีน้ำพระทัยยิ่งใหญ่ ทรงช่วยสัตว์โลกให้พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร ข้ามสู่ฝั่งพระนิพพาน โดยไม่ทรงเห็นแก่ความเหนื่อยยากลำบากใด ๆ แม้แต่นิดเดียว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
เมื่อมีคนที่ไม่เข้าใจมาต่อว่า..เราต้องทำอย่างไร
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงให้ใช้หลักโอวาทปาฏิโมกข์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยมีหลักที่สำคัญก็คือการไม่ว่าร้ายและไม่ทำร้ายใคร
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
กุมภาพันธ์ เดือนแห่งความรัก กับกิจกรรมบอกรักพระพุทธศาสนาดีๆ
"เรารักพระพุทธศาสนา" วลียอดฮิตเดือนกุมภาพันธ์ เดือนแห่งความรักวันมาฆบูชา ขอเชิญพร้อมใจกันเปลี่ยนภาพประจำตัว (โปรไฟล์) บน Face book ของเราเป็นภาพ "เรารักพระพุทธศาสนา"
เกาะติดความปลื้ม 3 มกราคม “หนึ่งปี...ที่รอคอย”
ความปลื้มเมื่อวานนี้ที่กองพลจักรพรรดิดาวรวยได้ร่วมกันต้อนรับคณะพุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญ1,131 รูป ที่วัดพระธรรมกายอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง ภาพแห่งความปลื้มปีติเหล่านี้ยังคงติดตาตรึงใจของทุกคนไม่เสื่อมคลาย ได้กลายเป็นภาพประวัติศาสตร์ที่กองทัพสื่อมวลชนทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศ อดใจไม่ไหว ได้ช่วยกันเผยแพร่ภาพดีๆ เหล่านี้ ออกไปทั่วโลก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน