เวมานิกเปรตผู้โดดเดี่ยว
เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภอดีตหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ประพฤติผิดศีลแทบทุกข้อ แต่มีบุญที่ได้ทำทานกับพระอรหันต์ไว้บ้าง จึงทำให้ไปบังเกิดเป็นเวมานิกเปรต เปลือยกายอยู่โดดเดี่ยวท่ามกลางมหาสมุทร เรื่องของนางก็มีอยู่ว่า...
Case Study พระภิกษุผู้เป็นไอดอลของหัวหน้าชั้น ตอนที่ 4 (ตอนจบ)
สำหรับสาเหตุที่ทำให้ลูกอุบาสิกาเขตในท่านนี้...ต้องมาเกิดเป็นผู้หญิงในภพชาติปัจจุบันนี้เพราะ...
สรรเสริญ นินทา ธรรมดาของโลก
อตุละ การนินทาและสรรเสริญนั่น เป็นของเก่า นั่งไม่ใช้เป็นเหมือนมีในวันนี้ ชนทั้งหลายย่อมนินทาผู้นั่งนิ่งบ้าง ย่อมนินทาผู้พูดมากบ้าง ย่อมนินทาผู้พูพอประมาณบ้าง ผู้ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
ผู้ให้คือผู้ชนะ
ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศ ย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวทั้งปวงในโลก ด้วยรัศมี ฉันใด บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ก็ฉันนั้น ย่อมไพโรจน์กว่าผู้ตระหนี่ทั้งปวง
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...
ไม่มีใครติเตียน
ผู้ใด เมื่อผู้อื่นทำความดีต่อตน ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน แล้วรู้คุณของเขา ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ
ความฝัน 16 ประการของพระเจ้าปเสนทิโกศล ตอนที่ 12
หม่อมฉันได้ฝันเห็นข้าวสุกที่คนหุงก็หุงข้าวจากหม้อใบเดียวกันแท้ๆ ข้าวในหม้อกลับสุกไม่เท่ากัน
ดินแดนสุขาวดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
๔๐ปีวัดพระธรรมกายกับความหมาย“การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำ
๔๐ ปี วัดพระธรรมกาย กับความหมาย “การสร้างบารมี”มุ่งสืบสานมโนปณิธานหลวงปู่วัดปากน้ำวัดพระธรรมกาย เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เพื่อสืบสานมโนปณิธานอันยิ่งใหญ่ของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร)หลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ ที่ท่านได้ปฏิบัติธรรมโดยเอาชีวิตเป็นเดิมพันจนสามารถเข้าถึง “พระธรรมกาย” อันเป็นกายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญเดือน ๑๐ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ จากนั้นเป็นต้นมา ท่านได้มุ่งมั่นทำงานพระพุทธศาสนาและเผยแผ่วิชชาธรรมกายไปอย่างกว้างขวางจน มีลูกศิษย์ทั้งในและต่างประเทศ
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้