อัสสกชาดก ชาดกว่าด้วยพระเทวีอุพพรีเกิดเป็นด้วงขี้ควาย
ณ นครสาวัตถี มีภิกษุรูปหนึ่งเมื่อได้บวชแล้วก็ไม่สามารถตัดกิเลสได้ แต่ละวันได้แต่คิดถึงภรรยาจนไม่สามารถปฏิบัติกิจสงฆ์ได้
เนื้อหาของบทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่า บทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร มีเนื้อหาใจความสำคัญอย่างไรบ้าง
ทำไมชีวิตต้องจบที่ความตาย
คำถาม : ทำไมชีวิตต้องจบด้วยความตายคะ?
มหาโมรชาดก ชาดกว่าด้วยพญานกยูงพ้นจากบ่วง
ครั้นเมื่อพระพุทธศาสนาได้แผ่ขยายออกไปกว้างใหญ่ไพศาล ประชาชนล้วนหลั่งไหลให้พระธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวชีวิต บ้างก็ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจให้ทำดี ครั้งนั้นได้มีหนุ่มรูปงามที่ตั้งใจจะละจากกิเลสทั้งปวง ออกบวชมุ่งปฏิบัติธรรม เพื่อตรัสรู้แจ้งแห่งธรรม การงานใดที่เป็นกิจของสงฆ์ ภิกษุหนุ่มนี้ ปฏิบัติได้ดีไม่มีขาด ว่างจากกิจก็นั่งสมาธิตั้งอานาปานสติ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้สังคมแตกแยก
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้สังคมโลก เกิดความเดือดร้อนวุ่นวายจนบานปลาย ไปสู่ความแตกแยก บางครั้งก็รุนแรง ถึงขั้นเกิดสงครามโลก
อนภิรติชาดก ชาดกว่าด้วยจิตขุ่นมัว ไม่ขุ่นมัว
ความสำเร็จในมรรคผล การบรรลุญาณสมาบัติของผู้ปฏิบัติกรรมฐานนั้น เกี่ยวข้องด้วยความสมถะสันโดษหลุดพ้นจากกิเลสอันอยากได้อยากมีเป็นอย่างยิ่ง ผู้ปฏิบัติภาวนา แม้สำเร็จญาณระดับใดแล้วก็ตาม แต่หากรับเอาอาสวะกิเลสเข้าจิตใจ แม้น้อยนิด ญาณวิเศษที่พากเพียรมา ก็จักเสื่อมลงถดถอยลงสิ้น
ขันติบารมี ตบะธรรมนำสู่นิพพาน
"ท่านจงอดทนต่อคำยกย่อง และคำดูหมิ่นทั้งปวง เปรียบเหมือน.. แผ่นดินอดทนต่อสิ่งที่เขาทิ้งลงทุกอย่าง ทั้งสะอาดและไม่สะอาด ไม่แสดงความยินดียินร้าย บำเพ้ญขันติบารมีก้จักบรรลุสัมโพธิญาณได้"
วัดพระธรรมกายสอนให้ทำบุญจนหมดตัวจริงหรือ ?..ถือว่าสอนผิดหรือไม่ ?
คำถามนี้ เรามาเปิดพระไตรปิฎกดูกันเลยดีกว่าว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านสอนอย่างไร จะได้ไม่มากล่าวหาว่าวัดพระธรรมกายบิดเบือนคำสอนอีก
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ