พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
ศูนย์ส่งเสริมศีลธรรม วัดพระธรรมกายโจฮันเนสเบิร์ก
“เพื่อพ่อ .. ลูกทำได้ทุกสิ่ง” พระครูภาวนาคุณวิเทศ วิ. พรรษา 23 เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายโจฮันเนสเบิร์ก แอฟริกาใต้
ร่วมมุทิตาสักการะพระภาวนาวิริยคุณเลื่อนสมณะศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช
เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน เลื่อนสมณะศักดิ์ให้ พระภาวนาวิริยคุณ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชภาวนาจารย์ วิ. ณ อุโบสถวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี เวลา 21.00 น.
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
ร่วมจัดพิมหนังสือ "คำสอนธรรมกายในคัมภีร์พุทธดั่งเดิม"
ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์หนังสือ “คำสอนธรรมกายในคัมภีร์พุทธดั้งเดิม” เพื่อกราบถวายเเด่พระสังฆาธิการทั่วประเทศ ในวันคุ้มครองโลก 22 เมษายน 2557 ในวาระอายุวัฒนมงคลได้ 70 ปี ของพระเทพญาณมหามุนี วิ. (หลวงพ่อธัมมชโย)
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) จัดพิธีเปิดศูนย์คานธารีศึกษา
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) สำนักพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีเปิดศูนย์คานธารีศึกษา
วิชชาชีวิต
วิชชาชีวิต "ความจริงของชีวิต คือ เราไม่สามารถดำรงอยู่ได้ ด้วยวิชาชีพเพียงอย่างเดียว ต้องมีวิชชาชีวิต คอยเคียงข้างเป็นกัลยาณมิตรให้ด้วย เพราะยามใดที่มีอุปสรรค เรายังสามารถอาศัยวิชชาชีวิตที่เรียนรู้มา คอยประคับประคองให้ข้ามพ้นอุปสรรคนั้นได้" คำสอนพระเทพญาณมหามุนี วิ.
พระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย...ก้าวไกลสู่เวทีโลก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ สืบทอดผ่านการสวดทรงจำโดยเหล่าพุทธสาวก และจารจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกลงในคัมภีร์ใบลาน เมื่อครั้งกระทำสังคายนา ครั้งที่ 5 ราว ๆ ปี พ.ศ. 400 เศษ ณ อาโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา
สมุดไทย ใบลาน งานศาสน์งามศิลป์
เมื่อครั้งที่อุตสาหกรรมผลิตกระดาษยังไม่เจริญแพร่หลาย ผู้คนสมัยโบราณได้ใช้การเขียน บันทึกลงบนวัสดุต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นจารึกบนแผ่นศิลา เปลือกไม้หรือภาชนะดินเผา แม้วัสดุดังกล่าวจะคงทนถาวร แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องน้ำหนักของวัสดุ ขนาดเนื้อที่ และความยากในการจารจารึก...
ขอเชิญร่วมงานสัมมนา "หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ"
ขอเชิญร่วมงานสัมมนาบูชา 70 ปี พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระเทพญาณมหามุนี วิ. ฟังรายงานผลงานวิจัย"หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ" ในวันอาทิตย์ที่ 20 เมษายน 2557 เวลา 08-00-17.00 น. ณ ศูนย์ประชุม เอ ไอ ที (AIT Conference Center) ข้าง มธ.ศูนย์รังสิต ถ.พหลโยธิน