พระมหากัปปินเถระ
บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม มีใจผ่องใส ย่อมอยู่เป็นสุข บัณฑิต ย่อมยินดีในธรรมที่พระอริยเจ้า ประกาศแล้วทุกเมื่อ
บัณฑิตกับพหูสูตแตกต่างกันอย่างไร
พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและนำความรู้ความสามารถไปใช้ในทางที่ดีอย่างถูกต้อง และเกิดประโยชน์กับสังคมด้วย
ป้องกันความผิดหวังด้วยการพึ่งตนเอง
เกิดมาเป็นคนควรพึ่งตนเองดีกว่าพึ่งคนอื่น เพราะคนอื่นพึ่งได้เป็นบางอย่าง บางเวลา และไม่ตลอดไป
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - เพื่อนแท้แม้ชีวิตก็แลกได้
กาเมื่อรู้ว่าตนเองตกอยู่ในอันตรายเสียแล้ว ก็ส่งเสียงดังให้งูมาช่วยโดยด่วน งูรีบแผ่พังพานทำท่าจะพ่นพิษร้ายใส่ปูทอง แต่ปูทองกลับใช้ความว่องไว อ้าก้ามอีกข้างหนึ่งหนีบคองูไว้ เมื่องูตกอยู่ในอันตรายก็พิจารณาว่า "ธรรมดาปูจะไม่กินเนื้อกาและเนื้องู แต่เพราะเหตุอะไรหนอ ปูตัวนี้จึงหนีบเราและกาไว้"
พหูสูต ความรู้ คู่ คุณธรรม!
...บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ นั้น หากใช้ในทางที่ดีก็เป็นเรื่องที่น่ายกย่อง หลักธรรมใดบ้างที่จะช่วยให้คนทั้งคนเก่ง และดีมีคุณธรรม
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - หนทางสู่สวรรค์นิพพาน
เราไม่ควรประมาทในชีวิต ต้องมีสติเตือนตนเสมอว่า เราอาจจะตายเมื่อไรก็ได้ ความตายไม่มีเครื่องหมายนำหน้า พึงเร่งขวนขวายสร้างความดี ละบาปอกุศล และทำจิตใจให้ผ่องใส เหมือนพระอินทร์ผู้เป็นจอมเทพในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เมื่อเห็นว่า อีกไม่นานจะต้องจุติจากความเป็นเทพ พระองค์ก็ไม่ประมาท หาโอกาสสั่งสมบุญให้กับตนเองทันที
ลูกผู้ชายอย่างเรา ฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง
ผมอดีตธรรมทายาทรุ่นบูชาธรรม 100 ปีคุณยายอาจารย์ “บัณฑิต ตระกูลคูศรี” ขอรายงานตัวกับหลวงพ่อในฐานะที่ผ่านการอบรมเป็นบัณฑิตทั้งทางโลกและทางธรรม ครับ แม้ผมจะเป็นแมนเต็มตัวไม่เคยกลัวใครประเภท “เทียนปู๋พ่า ตี้ปู๋พ่า” คือฟ้าไม่กลัว ดินไม่เกรง จะกลัวอย่างเดียวคือบวชที่วัดพระธรรมกายนี่แหละ มันกังวลคิดไปสารพัด ทั้งห่วงงาน ทั้งห่วงครอบครัว ทั้งกลัวติดใจเดี๋ยวอยู่ยาวแบบที่เค้าชอบลือกัน
ปัญญาชน คบบัณฑิต
ปัญญาชน คบบัณฑิต แม้เพียงครู่เดียว ก็พลันรู้แจ้งพระธรรม เหมือนลิ้นรู้รสแกง
จดหมายจากน้องสิงโต
น้องสิงโตกับน้องมังกร คุณพ่อจ้อน คุณแม่เดือน รวบรวมเงินค่าขนมทั้งหมด มาถวายบูชาธรรมหลวงพ่อ ได้ทองคำ 2 บาท เพื่อหล่อหลวงปู่ครับ
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น