พระอาจารย์บวชเพื่ออะไร ถูกบังคับให้บวชหรือสมัครใจเอง
คำถาม : พระอาจารย์บวชเพื่ออะไร ถูกบังคับให้บวชหรือสมัครใจเองคะ แล้วบวชแล้วศึกษาอะไร
กามชาดก ชาดกว่าด้วยกามและโทษของกาม
ครั้งนั้นเมื่อองค์พระศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภกับพราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่ง เขาผู้นี้ได้ทำการหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่ พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
มณิโจรชาดก ชาดกว่าด้วยพระเจ้าอธรรมิกราช
พ้นพรรษาฤดูหนึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร อันพระเจ้าพิมพิสารถวายให้ พระองค์ทรงปรารภ พระเทวทัตผู้พยายามปลงพระชนม์แก่ภิกษุสงฆ์ “ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเทวทัตพยามยามฆ่าเรา ใช่ว่าแต่ครั้งนี้ก็หาไม่ แม้ครั้งก่อนก็พยามยามฆ่าเรามาแล้ว”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
เลิกกันแล้วแต่ยังไม่ได้หย่า แล้วไปมีสามีใหม่ผิดศีลข้อสามหรือเปล่า
คำถาม : โยมได้แต่งงานกับชาวเนเธอร์แลนด์มีบุตรได้หนึ่งคน ต่อมาสามีของโยมติดกัญชา โยมจึงพาลูกสาวหนีแล้วมาอยู่กับพี่สาวที่สวิตเซอร์แลนด์และได้พบสามีคนปัจจุบัน ตอนที่โยมหนีมาโยมยังไม่ได้หย่าขาดทางกฎหมายกับสามีเก่า แต่โยมได้อยู่กินกับสามีใหม่จนมีลูกหนึ่งคน คำถามคือ ตั้งแต่โยมหนีมาโยมได้ถือว่าภาวะความเป็นสามีภรรยากับสามีเก่าสิ้นสุดลงแล้ว อย่างนี้ถือว่าโยมทำผิดศีลข้อสามหรือเปล่าคะ ถ้าผิดต้องแก้อย่างไร?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒)
ขอนำเสนอเนื้อหาสาระการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลในชมพูทวีปซึ่งการเผยแผ่ถูกจำกัดด้วยภูมิประเทศและความสามารถในการเดินทาง เรื่อยมาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มากด้วยเรื่องราวความเป็นไปในแต่ละท้องถิ่นของดินแดนต่าง ๆ
บูรพกษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สันนิษฐานว่าพระไตรปิฎกภาษาบาลีเข้ามาสู่ประเทศไทยใน ๒ ช่วง คือประมาณปี พ.ศ. ๑๖๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเถรวาทเผยแผ่จากประเทศพม่าเข้าสู่ภาคเหนือของไทย และประมาณปี พ.ศ. ๑๘๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่ จากประเทศศรีลังกามาทางนครศรีธรรมราช
รายชื่อศูนย์บรรพชาสามเณร 1 แสนรูป ปี 2558 (สามเณรเล็ก)
กาฬกัณณิชาดก ชาดกว่าด้วยมิตร
“พวกเธอจงเชื่อเถิด ขึ้นชื่อว่ามิตร ย่อมเกื้อกูลต่อกันเสมอ แม้มิตรนั้นจะตกต่ำในฐานะ แต่เมื่อจิตใจร่ำรวยดังนี้ มิตรอย่างเราก็ต้องอนุเคราะห์ให้ทรัพย์เป็นทุนกับเขายิ่งๆ ขึ้นไป”