พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (4)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้ หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 3 สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนเหลือเกินที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยเหลือเกินฉะนั้น
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - ไม่ควรหวัง ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
ฆฏบัณฑิตได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า "ข้าพระองค์ไม่ปรารถนากระต่าย ที่อาศัยอยู่บนแผ่นดิน ข้าพระองค์ปรารถนากระต่ายบนดวงจันทร์ ข้าแต่พระเจ้าพี่ ขอพระองค์โปรดนำกระต่ายนั้นมาประทานแก่ข้าพระองค์เถิด มิเช่นนั้น ชีวิตของข้าพระองค์ก็คงไม่อาจดำรงต่อไปได้"
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - พากเพียรเพื่อพระนิพพาน
บุคคลผู้มีปัญญา หากปรารถนาจะหลุดพ้นจากทุกข์ในสังสารวัฏ ต้องแสวงหาหนทางพระนิพพาน อันเป็นทางแห่งความบริสุทธิ์ อีกทั้งต้องมีความพากเพียรพยายามไม่ลดละ เพื่อทำความปรารถนานั้นให้สำเร็จ จนได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ประสบความสำเร็จในชีวิต ทั้งยังสามารถเป็นกัลยาณมิตรชี้ทาง สว่างและเป็นแบบอย่างให้กับชาวโลกได้อีกด้วย ดังเช่น พระมหามิตตเถระ ผู้มีความเคารพในทานที่ญาติโยมตั้งใจถวายด้วยศรัทธา
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๓)
มนุษย์ทั้งหลายมักติดข้องกันอยู่เช่นนี้มายาวนาน ทำให้ลืมเลือนภารกิจหลักที่แท้จริงของชีวิต คือ การเกิดมาสร้างบารมี ทำความบริสุทธิ์บริบูรณ์ให้แก่ตนเอง ด้วยการกลั่นจิตกลั่นใจให้ใสบริสุทธิ์
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๘)
พระรัตนตรัย คือ รัตนะอันลํ้าค่ายิ่งกว่ารัตนะใดๆ ในโลก เพราะเป็นที่พึ่งที่ระลึกทั้งในโลกนี้และโลกหน้า...
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
การเดินทางหลังความตาย
ในช่วงก่อนที่มนุษย์จะหลับตาลาโลก กายมนุษย์ละเอียดจะถอดออกจากกายมนุษย์หยาบ เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นการเลือกเส้นทางของชีวิตใหม่ และเป็นการสรุปความสำเร็จของการเกิดมาในชาตินี้ว่า ประสบความสำเร็จหรือไม่ เป็นศึกชิงภพครั้งยิ่งใหญ่
นิพพาน บทสรุปของชีวิตในสังสารวัฏ ตอนที่ 2
ถ้อยคำที่เกี่ยวข้องกับนิพพานมีอยู่หลายคำ อาจจะเกิดข้อกังขาที่ทำให้เข้าใจสับสนได้ โดยเฉพาะในพระไตรปิฎกมีความหมายที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้หลายนัยด้วยกัน
อานิสงส์ถวายเสา ๕ ต้น ร่วมสร้างโรงฉัน
สัตบุรุษย่อมให้ทาน คือ ข้าวและน้ำที่สะอาด ประณีตตามกาล สมควร เนืองนิตย์ ในผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้เป็นเขตดี บริจาคของมากแล้วก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้งย่อมสรรเสริญทานที่สัตบุรุษให้แล้วอย่างนี้ เมธาวีบัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาค ทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียนเป็นสุข