เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(9)
ชนเหล่าใด เมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ เหมือนพวกเดินทางไกล ย่อมแบ่งของให้แก่พวกที่เดินทางร่วมกัน ชนเหล่านั้น เมื่อชนอื่นตายแล้ว ก็ชื่อว่าย่อมไม่ตาย ธรรมนี้เป็นของบัณฑิตแต่ปางก่อน ชนพวกหนึ่งเมื่อของมีน้อยก็แบ่งให้ ชนพวกหนึ่งมีของมากก็ไม่ให้ ทักษิณาที่ให้แต่ของน้อย นับเสมอด้วยพัน
ชัยชนะครั้งที่ 3 (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ได้ชัยชนะต่อช้างตัวประเสริฐ ชื่อนาฬาคีรี ซึ่งเป็นช้างตกมัน สุดแสนที่จะทารุณร้ายกาจ ด้วยนํ้าพระเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะของพระพุทธเจ้านั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
แนวคิดการบำเพ็ญบารมี_2
พระตถาคตเจ้าทั้งหลายเสด็จอุบัติขึ้นมาก็ เพื่อประโยชน์สุขแก่คนหมู่มาก ทรงบำเพ็ญประโยชน์ทั้งแก่สตรี และบุรุษ ผู้ทำตามคำสอนของพระองค์
ไสยศาสตร์จากรัสเซีย
ชายคนหนึ่ง หลังจากประสบอุบัติเหตุจนศีรษะได้รับความกระทบกระเทือน 2 ครั้ง ก็มีอาการทางประสาท พยายามทำร้ายพี่ชาย ทำร้ายมารดาของตนเอง และพยายามจุดไฟเผาบ้าน ตอนที่เขาได้สติ เขาอธิบายว่า “ทั้งหมดที่เขาทำลงไปเพราะมีเสียงสั่งและบังคับให้เขาทำ” …เขาถูกคุณไสย จริงหรือไม่…อะไรคือสาเหตุที่แท้จริง …
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
ศาสดาเอกของโลก (6)
ชนเหล่าใด ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด ชนเหล่านั้น ละโลกนี้ไปแล้ว จักไม่ไปสู่อบายภูมิ เมื่อละกายมนุษย์นี้แล้ว จักยังหมู่เทวดาให้บริบูรณ์...
เส้นทางไปของผู้มีรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง
ชนเหล่าใดในศาสนานี้ละกามราคะอนุสัย คือภวราคะ และโมหะได้ขาด ชนเหล่านั้น ย่อมไม่ต้องนอนในครรภ์ คือเกิดอีก เพราะถึงนิพพานดับทุกข์เย็นสนิทดีแล้ว
ชัยชนะครั้งที่ ๕ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เป็นอานุภาพที่ไม่มีประมาณ เพราะเป็นอจินไตยอยู่เหนือวิสัยของผู้ที่ใจยังไม่หยุด จะเข้าใจได้ด้วยการนึกคิดด้นเดา
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์