รู้ทันวิบากกรรม
ความรู้เรื่องกฎแห่งกรรมจากรายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา มีคุณค่าอันประมาณมิได้ เป็นประโยชน์อันยิ่งใหญ่กับคนที่เคยผิดพลาดมาในอดีต เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างบารมีต่อไป เรื่อวราวของชีวิตหลังความตาย วิธีแก้ไขวิบากกรรม
The Noble Truth of Suffering Every living being is a victim of suffering
The Lord Buddha explained the nature of suffering in detail. The Pali word for ‘suffering’ is ‘dukkha’
อย่าไปยึดมั่นถือมั่น
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าพระพุทธจ้าสอนว่าคนเราไม่ควรยึดมั่นถือมั่นแล้วทำไมพระสงฆ์ท่านจึงมีข้อปฏิบัติเยอะจังครับ
ตรี นันทรัตน์ เชาวราษฎร์ในละครห้าห้องชีวิต "ห้องนางรำ"
ตรี นันทรัตน์ เชาวราษฎร์ในละครห้าห้องชีวิต "ห้องนางรำ" ความเหนื่อยหน่าย ท้อแท้ ผิดหวัง เสียใจ สุข ทุกข์ เศร้า เคล้าน้ำตา เกิดขึ้นได้แทบทุกวินาทีของเวลาในการใช้ห้องนี้ ที่ไม่ต่างจากช่วงเวลาของชีวิต ที่ใช้หาทรัพย์ภายในห้องทำงานของเรา..ทุกฉาก..ทุกเรื่องราวจะน่าติดตามเพียงใดมาติดตามกันค่ะ ...
เปรต ๑๒ ตระกูล (๒)
พระอรหันต์ทั้งหลายเปรียบด้วยนา ทายกทายิกาทั้งหลาย เปรียบด้วยชาวนา ไทยธรรมเปรียบด้วยพืช ผลทานย่อมเกิดแต่การบริจาคไทยธรรมแก่ปฏิคาหก พืชนาและการหว่านพืชนั้น ย่อมให้เกิดผลแก่ทายกและเปรตทั้งหลาย เปรตทั้งหลายย่อมบริโภคผล แห่งการอุทิศส่วนบุญนั้น ทายกย่อมเจริญด้วยบุญ ทายกทำกุศลในโลกนี้แล้ว อุทิศให้เปรตทั้งหลาย ครั้นทำกรรมดีแล้วย่อมไปสวรรค์
อสุรกายภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่ตายจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์อีกมีน้อย โดยที่แท้สัตว์ทั้งหลาย ที่ตายจากมนุษย์ไปแล้ว ย่อมไปเกิดในเปตวิสัย มีประมาณมากกว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากเปตวิสัยไปแล้ว จะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้สัตว์ที่จุติจากเปตวิสัยไปแล้ว ย่อมกลับไปเกิดในเปตวิสัย ในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน มีประมาณมากกว่า
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
หัวใจวายมรณภาพ กรรมใช้แรงงานนักโทษหนักปางตาย
ใครทำกรรมใดไว้ ตนจักต้องได้รับผลของกรรมนั้น นี้คือความเป็นจริงของชีวิต
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์