ทรงพยากรณ์คติของสาวกทำไม
ดูก่อนอนุรุทธะทั้งหลาย เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ตถาคตเห็นอำนาจประโยชน์อะไรอยู่ จึงพยากรณ์สาวกทั้งหลายทำกาละล่วงลับไปแล้ว ใ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทานบารมีแห่งยุค
สมัยนั้น อังกุรเทพบุตรซึ่งเคยนั่งอยู่ด้านหน้า ต้องถอยร่น ไปตามกำลังบุญ นั่งอยู่ไกลถึง ๑๒ โยชน์ ส่วนอินทกเทพบุตรนั่งอยู่ที่เดิมใกล้ๆ กับพระพุทธองค์ พระพุทธเจ้าได้ตรัสถามอังกุรเทพบุตรว่า "อังกุระ เธอทำแถวเตาไฟยาว ๑๒ โยชน์ ได้ให้ทานเป็นอันมากในกาลประมาณหมื่นปี บัดนี้เธอนั่งอยู่ไกลตั้ง ๑๒ โยชน์ ซึ่งไกลกว่าเทพบุตรทั้งหมด ไฉนเธอจึงนั่งอยู่ไกลนัก"
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 1 ชนะพญามาร)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะพญามาร ผู้เนรมิตแขนตั้งพัน มีอาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขล์พร้อมด้วยเสนามาร มาโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอสรรพมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน...
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 1 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจอมมุนี ทรงโปรดให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส ไปปราบนันโทปนันทนาคราช ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีให้แสดงฤทธิ์ ทรมานให้สิ้นฤทธิ์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงเกิดมีแก่ท่าน
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(1)
พระเจ้าเนมิราช พระราชาของชนชาววิเทหรัฐ ผู้ทรงสงเคราะห์ชาวเมืองมิถิลา ครั้นตรัสพระคาถานี้ว่า ผมหงอกงอกขึ้นบนศีรษะของเราแล้ว ย่อมนำความหนุ่มไป เทวทูตปรากฏแล้ว สมัยนี้เป็นกาลสมควรที่เราจะบวช ดังนี้แล้ว ทรงบริจาคทานเป็นอันมาก ทรงเข้าถึงความเป็นผู้สำรวมในศีล
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(2)
เมื่อใดพระเจ้าเนมิราชผู้เป็นบัณฑิต เป็นพระราชา ผู้ปราบอริราชศัตรู มีพระประสงค์ด้วยกุศล ทรงบริจาคทาน แก่ชาววิเทหะทั้งปวง เมื่อนั้นบุคคลผู้ฉลาดก็ย่อมเกิดขึ้นในโลก ความเกิดขึ้นของท่านเหล่านั้น น่าอัศจรรย์หนอ
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(5)
ข้าแต่พระราชาผู้ประเสริฐ ผู้เป็นใหญ่ในทิศทั้งหลาย ขอเชิญเสด็จมาขึ้นราชรถคันนี้ เทพเจ้าชาวดาวดึงส์พร้อมด้วยพระอินทร์ ใคร่จะเห็นพระองค์ เทพเจ้าเหล่านั้นระลึกถึงพระองค์ ประชุมกันรออยู่ที่สุธรรมาเทวสภา
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(11)
สิ่งใดที่ได้มาเพราะผู้อื่นให้ สิ่งนั้นเปรียบเหมือนยวดยาน หรือทรัพย์ที่ยืมเขามา เพราะฉะนั้น หม่อมฉันไม่ปรารถนาสิ่งที่ผู้อื่นมอบให้ บุญทั้งหลายที่หม่อมฉันทำเองย่อมเป็นทรัพย์ที่จะติดตามหม่อมฉันไป
เบื้องต้นเบื้องปลายไม่ปรากฏ
ดูก่อนภิกษุ เราตถาคตจะยกอุปมาให้เธอฟัง สมมติว่า มีภูเขาศิลาลูกใหญ่ยาว ๑ โยชน์ กว้าง ๑ โยชน์ สูง ๑ โยชน์ ไม่มีช่อง ไม่มีโพรง เป็นแท่งทึบ มีบุรุษผู้หนึ่งนำเอาผ้าขาวบางมาจากแคว้นกาสี แล้วเอาผ้านั้นลูบภูเขา ๑๐๐ ปีต่อครั้งหนึ่ง การที่ภูเขาศิลาใหญ่แท่งนั้นจะถึงความสิ้นไป เพราะความพยายามของบุรุษนั้น ยังเร็วกว่าระยะเวลาหนึ่งกัป ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอท่องเที่ยวไปมาอยู่ในวัฏสงสาร มิใช่ ๑ กัป มิใช่ ๑,๐๐๐ กัป มิใช่ ๑๐๐,๐๐๐ กัป เป็นเพราะว่า วัฏสงสารนี้กำหนดที่สุดและเบื้องต้นมิได้