สสปัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยผู้สละชีวิตเป็นทาน
“ มิจำเป็นที่ผู้อื่นจะต้องล่วงรู้หรอกท่านพญากระต่าย คุณความดีในการเสียสละชีวิตเพื่อให้ทานของท่านในครั้งนี้จะคงอยู่ปรากฎตลอดไป ” ทันทีที่กล่าวจบท้าวสักกะในร่างของพราหมณ์ ก็ทำการเขียนรูปของพญากระต่ายไว้บนดวงจันทร์ เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ในการเสียสละครั้งนี้ให้อยู่สืบไป
ทำความดีต้องมีกุศโลบาย
โอหนอ ทานนี้เป็นทานอันเลิศ เราได้ถวายไว้ดีแล้วในพระกัสสปเถรเจ้า
พิษแห่งกาม
ข้าแต่จอมนรชน ผู้เช่นกับพระองค์ทรงทอดอาลัยในตน ไม่คบหาของรักทั้งหลายว่า สิ่งนี้เป็นที่รักของเรา ตนเท่านั้นประเสริฐกว่า เป็นสิ่งที่ประเสริฐอย่างยิ่งทีเดียว ผู้มีตนที่สั่งสมบุญไว้ดีแล้ว จะพึงได้สมปรารถนาในสิ่งที่รักในภายหลัง
ประมุกของผู้หวังบุญ
ยัญทั้งหลายมีการบูชาไฟเป็นประมุขคัมภีร์สาวิตศาสตร์ เป็นประมุขแห่งคัมภีร์ฉันทฺ์พระราชาเป็นประมุขของมนุษย์ทั้งหลายสาครเป็นประมุขของแม่น้ำทั้งหลาย
ท้าวสักกะจอมเทพ
ท้าวสักกจอมเทพในชั้นดาวดึงส์นั้น กระทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยทานเป็นอดิเรก ทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยศีลเป็นอดิเรก ย่อมก้าวล่วงพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์โดยฐานะ ๑๐ ประการ คือ อายุทิพย์ วรรณะทิพย์ สุขทิพย์ ยศทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์ เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ และโผฏฐัพพทิพย์
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 6
ในขณะที่พระมหากัสสปะกำลังถือบาตรมุ่งหน้าเดินทางไปโปรดหญิงเข็ญใจอยู่นั้น ท้าวสักกะเทวราชก็ได้จำแลงแปลงกายมาเป็นมนุษย์ แล้วก็ได้ไป.....
เทวดาทำสิ่งใดในวันพระ
ตลอดระยะเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันข้างแรมจนถึงข้างขึ้น มนุษย์ที่ประมาทในการดำเนินชีวิต ก็จะสนุกสนานเพลิดเพลินกับเรื่องที่ไร้สาระ เช่น เล่นอบายมุข ดื่มสุราเมรัยยาเสพติดสิ่งที่ไม่ดี เป็นต้น ส่วนมนุษย์ที่ไม่ประมาท ก็จะหมั่นสั่งสมบุญ สวดมนต์ ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา
สักกปัญหสูตร ตอนที่๑ ( ฤาจะสิ้นท้าวสักกะ )
การที่จะดำรงภาวะของความเป็นมนุษย์ ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์นั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะจะต้องดำรงตนให้รอดปลอดภัยจากอบายภูมิ
หนทางของพุทธะ
ดูก่อนสุเมธบัณฑิต จำเดิมแต่นี้ไป ท่านพึงบำเพ็ญทานบารมีข้อแรกให้เต็ม ธรรมดาว่า หม้อน้ำที่คว่ำแล้ว ย่อมคายน้ำออกไม่เหลือ ไม่นำกลับเข้าไปอีกฉันใด แม้ท่านเมื่อไม่เหลียวแลทรัพย์ ยศ บุตร และภริยา ให้สิ่งที่เขาต้องการอยากได้ทั้งหมดแก่ผู้ขอที่มาถึง กระทำมิให้มีส่วนเหลืออยู่ จักได้นั่งที่ควงไม้พระศรีมหาโพธิ์แล้วตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า