วัดพระธรรมกายเจริญชัยมงคลคาถา ย่ำระฆัง 20 ครั้ง ถวาย “สมเด็จพระสังฆราช”
วัดพระธรรมกายเจริญชัยมงคลคาถา ย่ำระฆัง 20 ครั้ง ถวาย “สมเด็จพระสังฆราช” ตามธรรมเนียมปฏิบัติตามโบราณราชประเพณี ที่สืบทอดกันมายาวนาน
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
ตาลปัตรพระสำคัญอย่างไร
คำถาม : ตาลปัตรที่พระใช้มีความสำคัญอย่างไรคะ ทำไมพระถึงใช้ในพิธีทางศาสนาเป็นบางพิธี บางพิธีก็ไม่ใช้
หน่วยงานสังคมสงเคราะห์เด็กฯ เมืองเอาส์บวร์ก ดูงาน ณ วัดพระธรรมกายบาวาเรีย
หน่วยงานสังคมสงเคราะห์เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสในสังคมเมืองเอาส์บวร์ก ได้มาศึกษาพระพุทธศาสนาและสมาธิ ณ วัดพระธรรมกายบาวาเรีย
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอน บ่อเกิดของมารยาทไทย
เรามักเข้าใจกันว่า มารยาทเป็นเรื่องของการปรับตัวให้เข้ากับสังคมเพื่อความงดงามน่าดู เพื่อการยอมรับเข้าเป็นหมู่คณะเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมีเรื่องเบื้องหลังลึกซึ้งเกี่ยวกับต้นบัญญัติมารยาทที่เรายอมรับกันอยู่ในปัจจุบันนี้...
เพลงวันเด็ก
เพลงวันเด็ก รวมเพลงเด็กๆ เพลงเด็กน่ารัก เพลงเด็กดี เพลงเด็กดี V-star ภาพเด็กน่ารัก ประวัติวันเด็กแห่งชาติ คำขวัญวันเด็ก
คัมภีร์ใบลาน "ผ้าห่อถักทอด้วยศรัทธา"
หนังสือใบลานเป็นเอกสารโบราณที่ใช้จดจารคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ ความสำคัญของหนังสือใบลานในประเทศไทยมีมาพร้อม ๆ กับการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา คนไทยโบราณจึงมักเรียกหนังสือโบราณนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” คติการสร้างคัมภีร์ใบลานในหมู่พุทธศาสนิกชนนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเชื่อว่าจะได้อานิสงส์อันยิ่งใหญ่จะนับจะประมาณมิได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีธรรมเนียมนิยมสร้างคัมภีร์ใบลานถวายไว้กับพระศาสนามากมาย
ขอจงเป็นอยู่เถิด
พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อมีผู้ถวายบังคม จะทรงพระอิริยาบถที่สง่างาม ทรงเปล่งพระสุรเสียง ดุจท้าวมหาพรหมที่ไพเราะเสนาะโสต เป็นที่จับใจ เปี่ยมด้วยโสรจชะโลมด้วยน้ำอมฤต ตรัสระบุชื่อของผู้นั้นแล้วกล่าวว่า จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด ข้อนี้เป็นธรรมเนียมของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ทำไมคำนำหน้าที่ใช้เรียกเจ้าอาวาสแต่ละวัดจึงไม่เหมือนกัน
พระภิกษุโดยทั่วไปไม่มีสมณศักดิ์ ถ้าเป็นเจ้าอาวาสท่านให้เรียกว่าพระอธิการทุกวัด ถ้ามีสมณศักดิ์ คือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานสมณศักดิ์ให้แล้วจึงจะมีคำนำหน้า เช่น เป็นพระครู เป็นพระปลัด จนกระทั่งเป็นพระราชาคณะ ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า ท่านเจ้าคุณ
คู่บุญคู่บารมี
ด้วยความผูกพันที่มีต่อกัน และบุญที่ทำร่วมกันมา แม้ได้พบหน้ากันเป็นครั้งแรก แต่ความรักความปรารถนาดีที่มีต่อกันก็พลันบังเกิดขึ้น