มูลนิธิธรรมกายมอบเครื่องอุปโภคบริโภคช่วยวัด จ.สุพรรณบุรี
คณะสงฆ์ในจังหวัดสุพรรณบุรี ขอความช่วยเหลือถุงยังชีพจากมูลนิธิธรรมกาย เพื่อนำไปช่วยเหลือวัด 30 แห่งที่ประสบภัยน้ำท่วมในจังหวัดสุพรรณบุรี
อยากตัดความรัก ความหลง
คำถาม : ทำอย่างไรถึงจะตัดกิเลสความรักความหลงได้คะ?
โครงการเขียนข่าวให้เป็นข่าวดี ครั้งที่ 4
คุณแน่ใจได้อย่างอย่างไร ภาพที่คุณถ่าย ข่าวที่คุณเขียน และแชร์ใน social media จะไม่มีผลต่องานพระศาสนา โครงการเขียนข่าวให้เป็นข่าวดี โดยสำนักสื่อสารองค์กร เปิดอบรมให้ความรู้การเขียนข่าว ถ่ายภาพ เลือกภาพที่เหมาะสม และเรียนรู้การแชร์ สร้างกระแส ท่ามกลางพฤติกรรมการใช้ social media
บุญใหญ่ๆใครๆก็อยากมีส่วนร่วม
ทุกๆเช้า สามแม่ครัวจะมาเตรียมอาหารกันตั้งแต่ตีสี่ โดยรอบนี้จะมีผู้ช่วยแม่ครัวสามคน คือ ผู้นำบุญที่ต้องไปทำงานแต่เช้า จะมาช่วยทำอาหารตั้งแต่ตีสี่จนถึงเจ็ดโมงเช้า แล้วก็อยู่รอจนธรรมทายาททานข้าวเสร็จจึงไปทำงาน รอบสายประมาณแปดโมงกว่าๆ ก็จะมีกลุ่มแม่บ้านที่ส่งลูกไปโรงเรียน ส่งสามีไปทำงานเรียบร้อย รีบมาที่วัดเพื่อมาช่วยเตรียมอาหารเพล ราวๆสิบโมงก็จะมีรุ่นเดอะ คือ คุณยายอายุเกือบ 90ปี หิ้วปิ่นโตถือกับข้าวมาร่วมบุญภัตตาหารเพล
พิธีมอบข้าวสารอาหารแห้งอำเภอเบตง
ศูนย์ปฏิบัติธรรม ธรรมตะวัน และ มูลนิธิธรรมตะวัน เป็นตัวแทนมูลนิธิธรรมกาย และวัดพระธรรมกาย มอบข้าวสารอาหารแห้งช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจ ที่จังหวัดยะลา
ปราสาท 3 ฤดู
ปราสาท 3 ฤดู จะมีความสูงเท่ากัน แต่มีชั้นไม่เท่ากัน ได้แก่ ปราสาทฤดูหนาวมี 9 ชั้น ปราสาทฤดูร้อนมี 5ชั้น ปราสาทฤดูฝนมี 7 ชั้น
ชมรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ หมู่บ้านปิยวรารมย์ จัดพิธีตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุหมู่บ้านปิยวรารมย์ และนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรปิยวรารมย์ โดยชมรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ หมู่บ้านปิยวรารมย์ จัดพิธีตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ เนื่องในวันจักรี และเทศกาลสงกรานต์
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย มอบถุงยังชีพช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม จ.สุโขทัย
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย ก็ได้มอบถุงยังชีพเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม จำนวน 150 ชุด ใน 2 อำเภอ จ.สุโขทัย
แม้จะเป็นเพียงชาวนาและคนเลี้ยงวัว ขอสลัดความจนให้พ้นตัว ด้วยการ...
สร้างองค์พระ ปิดเจดีย์ : แม้จะมีโอกาสไม่บ่อยครั้งนักที่ชีวิตของลูกจะได้ถือเงินหมื่น จริงอยู่ที่มันอาจจะดูไม่มากสำหรับคนอื่น แต่มันมากสำหรับชาวนาที่ขออาศัยนาคนอื่นทำและคนเลี้ยงวัวผู้อาศัยอยู่ในบ้านไม้อันคร่ำคร่าหลังคาสังกะสี ทานน้ำพริกผักต้มประทังชีวิตแบบพออยู่ แต่ลูกก็ไม่เคยนึกเสียดายเงินก้อนนี้เลย วันข้างหน้าจะมีกินหรือไม่มีกินลูกไม่คิด เพราะลูกเชื่อมั่นว่า ถึงอย่างไรบุญก็ไม่ทอดทิ้งให้ตกระกำลำบากอย่างแน่นอน
พระนี้มีเจ้าของ
ตั้งแต่นั้นมาป้าจวบก็พกพระของขวัญติดตัวตลอดเวลา ไม่ว่าจะออกไปไหน ไปจ่ายตลาด หรือไปขายข้าวแกงไม่เคยให้ห่างจากตัวเลย และเมื่อป้าจวบกับลูกสาวได้รู้ว่า คุณครูไม่ใหญ่กล่าวว่า “พระของขวัญนี้ท่านมีชีวิต ไปไหนมาไหนได้ แล้วที่สำคัญท่านมีเจ้าของ” ทั้งคู่ก็ถึงกับอึ้ง ทึ่ง และก็ขนลุกไปตามๆกัน และถ้ามีโอกาสทั้งสองแม่ลูกก็อยากจะมาร่วมงานทอดกฐินหลวงปู่ ในวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 นี้ด้วย