พิธีตัดปอยผมรุ่นอุดมศึกษา รุ่น 46 ภาคฤดูฝน
โครงการอบรมธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 46 ภาคฤดูฝน ได้จัดพิธีตัดปอยผมและปลงผมธรรมทายาท จำนวน 33 ท่าน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน ที่ผ่านมา
โครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 46
โครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 46 เปิดรับสมัครภาคฤดูฝน (รับสมัครทุกวัน) ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน - 27 พฤษภาคม พ.ศ.2561 ณ ศูนย์ฝึกอบรมธรรมทายาท อาคารแจ่มจันทร์ วัดพระธรรมกาย
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45 (ภาคฤดูหนาว)
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45 (ภาคฤดูหนาว) รับสมัครตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 16 ธันวาคม 2560 ณ อาคารแจ่มจันทร์ อบรมวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2560 – 13 มกราคม พ.ศ. 2561
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 45 อบรม 30 พฤษภาคม – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 44
โอกาสสำคัญ…ของลูกผู้ชาย คือการได้บวชทดแทนพระคุณบิดามารดา บวชฟรี … ไม่เสียค่าใช้จ่ายสำหรับการบวช
พระอาจารย์บวชเพื่ออะไร ถูกบังคับให้บวชหรือสมัครใจเอง
คำถาม : พระอาจารย์บวชเพื่ออะไร ถูกบังคับให้บวชหรือสมัครใจเองคะ แล้วบวชแล้วศึกษาอะไร
โครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ บูชาธรรม 75 ปี พระราชภาวนาจารย์
โครงการธรรมทายาทอุปสมบทหมู่ บูชาธรรม 75 ปี พระราชภาวนาจารย์ อบรมวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 - 9 มกราคม พ.ศ. 2559 บวชฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย
โครงการอบรมธรรมทายาทหญิงภาคฤดูร้อน รุ่นที่ 31
พัฒนาศักยภาพตามหลักพุทธวิธี จากผู้หญิงธรรมดา สู่การเป็น "ผู้หญิง 200 %" เปิดรับสมัครตั้งแต่ วันนี้ - 15 มีนาคม 2557 ระยะเวลาโครงการอบรม 30 มีนาคม - 18 พฤษภาคม พ.ศ.2557 "พร้อมหรือยังที่จะเปลี่ยน Summer นี้ให้เป็น Summer Over Trend"
อุปสมบทหมู่ธรรมทายาท ระดับอุดมศึกษา รุ่นที่ 42
การเป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์นั้น มิใช่มีเพียงปริญญาเท่านั้น แต่ควรที่จะศึกษาวิชาสำหรับการดำเนินชีวิตควบคู่กันไปด้วย ความรู้ทางโลกล้วนมุ่งเน้นเพื่อการประกอบอาชีพเลี้ยงชีวิต แต่ยังขาดความสมบูรณ์ในการตอบโจทย์ของชีวิต ว่ามนุษย์เกิดมาทำไม? อะไรคือเป้าหมายของชีวิต? รวมไปถึงวิธีดำเนินชีวิตไปสู่ความสุขและความสำเร็จได้อย่างไร?
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น