วันปิยมหาราช ประวัติและความสำคัญของวันปิยมหาราช
วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม มีประวัติความเป็นมา ความสำคัญต่อชาติไทยอย่างไร กลอนวันปิยมหาราช
กัลยาณธรรมชาดก ชาดกว่าด้วยผู้มีกัลยาณธรรม
" เราไม่ได้ออกบวช แต่คนอื่นทั้งหมดกลับคิดว่าเราบวช นี่คงเป็นเสียงดีสินะ เราจะไม่ทำให้เสียงดีนี้หายไป เราจะออกบวช ” เศรษฐีจึงกลับไปเข้าเฝ้าพระราชาอีกครั้ง พระราชาเมื่อเห็นเศรษฐีเดินมาเข้าเฝ้าอีกก็แปลกใจจึงตรัสถามว่า “ ท่านมหาเศรษฐี ท่านเพิ่งไปเดี๋ยวนี้เอง ทำไมจึงกลับมาอีกเล่า ” “ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมแห่งชน กาลใดบุคคลได้สมัญญาในโลกว่า ผู้มีกัลยาณธรรม กาลนั้นนรชนผู้มีปัญญาไม่พึงทำตนให้เสื่อมสมัญญานั้นเสีย "
วัดพระธรรมกายเทนเนสซี จัดงานบุญบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายเทนเนสซี ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดงานบุญบูชาข้าวพระและพิธีทอดผ้าป่าสร้างทุก
วันดินโลก ( World Soil Day)
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น รัฐแมสซาชูเสตต์ ประเทศสหรัฐอเมริก
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ถวายอาลัย
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ถวายอาลัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ เปรียบเหมือนดวงประทีปส่องกลางใจได้ดับลง ขอให้ประชาชนยึดมั่นตามหลักพระบรมราโชวาท...
สองพระมหากษัตริย์....ร่มฉัตรปกแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร์รัชกาลที่ ๘ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติในระบอบประชาธิปไตย
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์กับงานด้านศาสนศึกษา
งานด้านศาสนศึกษา หมายถึง การกิจในการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ เช่น แผนกธรรมหรือบาลี รวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม เช่น การอบรมก่อนสอบ, การสอบนักธรรม-บาลี, การมอบทุกวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา และการจัดตั้งมูลนิธิ หรือกองทุนเพื่อการศึกษา
พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชสมัยแห่งการฟื้นฟู
ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๒ แห่งราชวงศ์จักรีทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์ ทรงฝากตัวเป็นศิษย์กับพระวันรัต (ทองอยู่) เพื่อเข้ารับการศึกษาเบื้องต้น ณ สำนักวัดระฆังโฆสิตาราม เดิมเรียกว่า วัดบางหว้าใหญ่