พระเจดีย์จุฬามณี
ใครๆ ไม่อาจนับบุญของบุคคลผู้บูชาอยู่ซึ่งท่านผู้ควรบูชา คือพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกทั้งหลาย ผู้ก้าวล่วงปปัญจธรรมเครื่องเนิ่นช้าได้แล้ว ผู้มีความเศร้าโศก และความคร่ำครวญอันข้ามพ้นแล้ว หรือว่าของบุคคลผู้บูชาอยู่ ซึ่งท่านผู้ควรบูชาเหล่านั้น ผู้นิพพานแล้ว ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ ด้วยการนับแม้วิธีใดๆ ก็ตาม ว่าบุญนี้มีประมาณเท่าใด
สัจจบารมี ยอมตายไม่ยอมคด
"ท่านพึงบำเพ็ญสัจจบารมีให้เต็มเปี่ยม อย่าได้พูดเท็จทั้งที่รู้ตัวอยู่ด้วยมุ่งทรัพย์ เป็นต้น ดาวประกายพรึกในทุกฤดูกาล ไม่โคจรไปในทางอื่น โครจรเฉพาะในทางของตนเท่านั้น ฉันใดแม้ท่านไม่ละสัจจะ ไม่ทำการพูดเท็จ ก็จักได้เป็นพระพุทธเจ้า ฉันนั้น "
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (1)
บัณฑิตทราบอำนาจเนื้อความนี้ว่า บุตรทั้งหลาย ย่อมไม่มีเพื่อต้านทาน บิดา และพวกพ้องทั้งหลาย ก็ไม่มีเพื่ออันต้านทาน เมื่อบุคคล ถูกความตายครอบงำแล้ว ความต้านทานในญาติทั้งหลาย ย่อมไม่มี ดังนี้แล้ว เป็นผู้สำรวมในศีล พึงชำระทางเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน ให้หมดจดโดยพลันทีเดียว
การเจริญเมตตาจิต
ผู้ใดมีสติมั่นคง เจริญเมตตาอันหาประมาณมิได้ สังโยชน์ของผู้นั้น ผู้เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอุปธิกิเลส ย่อมเบาบาง หากว่าเขาไม่มีจิตคิดประทุษร้ายสัตว์แม้สักตัวเดียว เจริญเมตตาอยู่ เพราะเจริญเมตตาจิตนั้น ย่อมเป็นกุศล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 97
นี่ มันเรื่องอะไรกัน คนหนึ่งกล่าวว่าควรเปิดเผยความลับแก่สหาย คนหนึ่งว่าควรเปิดเผยความลับแก่พี่น้อง คนหนึ่งก็ว่าควรบอกความลับแก่บุตร ส่วนอีกคนก็ว่า ควรบอกความลับแก่มารดา ชะรอยอาจารย์เหล่านี้จะต้องมีความลับส่วนตัวที่ปกปิดไว้เป็นแน่ มิเช่นนั้นแล้ว คงจะไม่กล้ายืนยันต่อพระราชาเช่นนี้
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
ความหลากหลายของเปรต (๒)
ชนเหล่าใดยังเป็นมาณพ อันเทวทูตตักเตือนแล้วประมาทอยู่ นรชนเหล่านั้นจะเข้าถึงหมู่สัตว์เลว เศร้าโศกสิ้นกาลนาน ส่วนนรชนเหล่าใด เป็นสัตบุรุษผู้สงบระงับในโลกนี้ อันเทวทูตตักเตือนแล้ว ย่อมไม่ประมาทในธรรมของพระอริยะ ในกาลไหนๆ เห็นภัยในความถือมั่นอันเป็นเหตุแห่งชาติและมรณะแล้ว ไม่ถือมั่น หลุดพ้นในธรรมเป็นที่สิ้นชาติและมรณะได้ นรชนเหล่านั้นเป็นผู้ถึงความเกษม มีสุข ดับสนิทในปัจจุบัน ล่วงเวรและภัยทั้งปวงและเข้าไปล่วงทุกข์ทั้งปวงได้
บิ๊กทู ชู บิ๊กบุญ ในเคปทาวน์
ต่อมา ในวันพุธที่ 28 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ชาวแอฟริกาใต้จำนวนสิบกว่าล้านคน ก็ได้เห็นภาพที่งดงามของพระภิกษุสงฆ์ไทย ลงหนังสือพิมพ์ชื่อดังอีกครั้ง เมื่อหนังสือพิมพ์ “ดี เบอเกอร์” (ภาพที่ 9) ได้ลงตีพิมพ์บทความ ที่มาจากการสัมภาษณ์ พระครูปลัดภูเบศ ฌาณาภิญโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ในโอกาสที่ท่านและคณะได้เดินทางมาปฏิบัติศาสนกิจที่ประเทศแอฟริกาใต้
อะซูซ่าเริงร่าสุดปลื้ม...ธุดงค์ธรรมชัยครั้งแรกของสหรัฐอเมริกา
การอุปสมบทหมู่ในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมโครงการถึง 56 ท่าน ตั้งแต่วันที่ 15-24 ตุลาคม พ.ศ.2553
ประเพณีรดน้ำดำหัว เทศกาลวันสงกรานต์
ประเพณีรดน้ำดำหัว ประเพณีรดนํ้าดําหัวผู้ใหญ่ รดน้ำขอพรวันสงกรานต์ รดน้ำขอขมา ขอโทษ ผู้ใหญ่และขอพรจากผู้ใหญ่ที่ตนเคารพนับถือ