ทุ่มชีวิตเป็นเดิมพัน
พอได้ยินหลวงพ่อประกาศรายนาม คณะเจ้าภาพใหญ่ ผ้าป่าธรรมชัย ลูกก็รู้สึกอยากเป็น 1 ใน 68 คณะ กับเขาบ้าง ลูกคิดว่าถ้าเราทำคนเดียวไม่ได้ ก็ต้องทำรวมกันเป็นทีม ถึงจะถูกหลักวิชชา
สารมุทิตา จากคณะกรรมการที่ปรึกษา มูลนิธิมาลาลา เซเกรา ศรีลังกา เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 16
จึงกลับมาแลดูพระองค์ก็จำได้ ว่า ใช่พระเตมิยราชกุมารแน่แล้ว จึงหมอบลงแทบพระบาทของพระโพธิสัตว์ ประคองอัญชลีทูลวิงวอนว่า “ข้าแต่พระราชโอรส ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด ข้าพระบาทจะนำพระองค์กลับสู่ราชมณเฑียร ขอพระองค์จงครองราชย์สมบัติ ขอจงทรงพระเจริญ พระองค์จะอยู่ทำอะไรในป่านี้เล่า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
อานิสงส์ทำจิตเลื่อมใสในพระญาณ
เราได้ยังจิตให้เลื่อมใสในพระญาณ ประณมอัญชลี มีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ถวายบังคมพระพุทธเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ ด้วยอานุภาพแห่งบุญที่ได้กระทำในครั้งนั้น ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราได้เสวยทิพยสมบัติมากมายหลายภพหลายชาติ เราไม่เคยไปสู่ทุคติเลย
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 16
เมื่่อมาตลีเทพสารถีได้นำพระเจ้าเนมิราชมาถึงเทวสภา เหล่าเทวดาก็อัญเชิญให้เสด็จขึ้นประทับนั่งบนทิพอาสน์ใกล้กับท้าวสักกเทวราช และท้าวสักกะจอมเทพทรงเกิดความเลื่อมใสในพระเจ้า เนมิราชเป็นอย่างยิ่ง ได้ตรัสเชื้อเชิญให้ทรงบริโภคกามอันเป็นทิพย์ในเทวโลกกับพระองค์ โดยจะทรงแบ่งสมบัติทิพย์ให้ เรื่องราวจะเป็นอย่างไรนั้น
พิธีต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
โลกดุจมะขามป้อมบนฝ่ามือ
คำถาม : ที่มีคำกล่าวว่า “โลกเป็นประดุจผลมะขามป้อมในฝ่ามือ” นั้น หมายความว่าอย่างไรครับ
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์