หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๙)
เมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผู้เขียนและคณะได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมทางวิชาการและร่วมพิธีฉลองการเปิดอาคารอเนกประสงค์ของวัดต้าฝอซื่อ ที่เมืองกว่างโจวสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจัดโดยภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น ร่วมกับวัดต้าฝอซื่อ
เอกวาดอร์...ดินแดนบนเส้นศูนย์สูตรกับเส้นทางสู่ศูนย์กลางกาย
อกวาดอร์เป็นประเทศเล็ก ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ เป็นหนึ่งใน ๑๓ ประเทศในโลกที่มีเส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน คำว่า “เอกวาดอร์” มาจากภาษาสเปน “Ecuador” ที่แปลตรงตัวว่า “เส้นศูนย์สูตร” หากท่านผู้อ่านอยากจะลองหาประเทศนี้ในแผนที่โลก ก็ต้องมองไปที่มุมบนซ้ายของทวีปอเมริกาใต้ จะเห็นเป็นประเทศเล็ก ๆ ติดมหาสมุทรแปซิฟิก...
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
วันแห่งความรัก
วันแห่งความรัก ในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่อบอวลไปด้วยการแสดงถึงความรัก ความห่วงใยถึงคนที่เราปรารถนาดีและอยากให้เขามีความสุข และเป็นที่รับรู้กันทั่วโลก ว่าวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันแห่งความรักหรือวันวาเลนไทน์ (Valentine’s Day) อันว่าความรักนั้น เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์มาช้านาน และมนุษย์ทุกคนล้วนมีความรักอยู่ภายในใจมากหรือน้อยแตกต่างกันไป
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกบัว
ท่านสาธุชนยอดนักสร้างบารมีผู้มีบุญทั้งหลาย เราเกิดมาภพชาติหนึ่งได้มาทำความดีในมนุษยโลก มาพบพระพุทธศาสนา และตัวเราก็เป็นสัมมาทิฐิบุคคล นับว่าเป็นสิ่งที่ได้มายากแสนยาก เพราะนี่คือคุณสมบัติของผู้มีบุญที่จะใช้โอกาสที่ดีเช่นนี้สร้างบารมีตักตวงบุญกุศลได้เต็มที่
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒)
ขอนำเสนอเนื้อหาสาระการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลในชมพูทวีปซึ่งการเผยแผ่ถูกจำกัดด้วยภูมิประเทศและความสามารถในการเดินทาง เรื่อยมาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มากด้วยเรื่องราวความเป็นไปในแต่ละท้องถิ่นของดินแดนต่าง ๆ
แก้กรรม วิธีแก้กรรม ตัดกรรม แก้กรรมและสะเดาะเคราะห์ต่างกันไหม?
แก้กรรม วิธีแก้กรรม ตัดกรรม แก้กรรมและสะเดาะเคราะห์ต่างกันไหม? การแก้กรรมมีผลดีอย่างไรบ้าง? มีวิธีตัดกรรมแก้กรรมตามหลักพระพุทธศาสนาบ้างไหม? อย่างไร? เราจะพิสูจน์เรื่องนี้ได้อย่างไร
วิบากกรรมที่ทำให้หน้าแก่เกินวัย
15 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา สื่อมวลชนได้เสนอข่าว มุนซุนยอง สาวเกาหลีหน้าแก่เกินวัย...
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
ลงทะเบียนร่วมงานฉลองครบรอบ 10 ปี DOU “10 ปี สู่ล้านสานฝันพ่อ”
ขอเชิญศิษย์เก่าศิษย์ปัจจุบัน และผู้สนใจทุกท่าน ร่วมงานฉลองครบรอบ 10 ปี DOU “10 ปี สู่ล้านสานฝันพ่อ” วันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ณ ห้อง SPD 7 สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย เวลา 13.00น. – 16.15น.
ทวิตเตอร์ Twitter การใช้งานทวิตเตอร์ ขั้นตอนการสมัคร Twitter
ทวิตเตอร์ Twitter คืออะไร ทวิตเตอร์ใช้ทำอะไร ทวีตเตอร์มีประโยชน์อย่างไร #ในTwitterที่ใช้ Tweet คืออะไร
อินเทอร์เน็ต ประวัติอินเทอร์เน็ต ประโยชน์และการใช้งานอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ประวัติของอินเทอร์เน็ต ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย การทำงานของอินเทอร์เน็ต บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต ยุคของอินเทอร์เน็ต
ความสะอาด วัดความเจริญ
ความสะอาดตา พาสะอาดใจ ความสะอาดใจ นำมาซึ่งความสุข ความเสริญ ผู้รักความสะอาด ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ย่อมทำให้ที่แห่งนั้นเจริญรุ่งเรือง