เฮือกสุดท้ายของชีวิต (๒)
นรชนผู้มีอันจะต้องตายเป็นสภาพ ระลึกถึงความดีที่ตนได้ทำแล้วนี้ ย่อมตั้งอยู่ในอริยธรรมในปัจจุบันนี้เอง บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญนรชนนั้น นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสุคติโลกสวรรค์
เฮือกสุดท้ายของชีวิต (๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ผ้าที่เศร้าหมองมีมลทินจับ ช่างย้อม นำเอาผ้าผืนนั้นใส่ลงในนํ้าย้อมใดๆ คือ สีเขียว สีเหลือง สีแดง หรือสีชมพู ผ้านั้นพึงเป็นของมีสีที่เขาย้อมไม่ดี มีสีมัวหมอง เพราะผ้าเป็นของไม่บริสุทธิ์ ฉันใด เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันหวังได้ ฉันนั้น ผ้าที่บริสุทธิ์สะอาด ช่างย้อมพึงนำเอาผ้าผืนนั้นใส่ลงในนํ้าย้อมใดๆ คือสีเขียว สีเหลือง สีแดง หรือสีชมพู ผ้านั้นพึงเป็นของมีสี ที่เขาย้อมดี มีสีสด ข้อนั้นเพราะผ้าเป็นของบริสุทธิ์ ฉันใด เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้ ฉันนั้น
กรรมของคนโกงที่ธรณีสงฆ์
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าเป็นเปรตเข้าถึงทุคติ เพราะได้ทำบาปกรรมเอาไว้ จึงจากมนุษยโลกนี้ไปสู่เปตโลก
ความหลากหลายของเปรต (๑)
การร้องไห้ก็ดี ความเศร้าโศกก็ดี การพิไรร่ำไรก็ดี บุคคลไม่ควรทำเลย เพราะการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ญาติทั้งหลายก็คงดำรงอยู่อย่างนั้น ทักษิณาทานที่ให้แล้ว ตั้งไว้ดีแล้วในสงฆ์ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ชนผู้ล่วงลับไปโดยพลันสิ้นกาลนาน
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2555
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ร่วมกับมูลนิธิธรรมกาย และวัดสามพระยา ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2555 ในระดับชั้นเปรียญธรรม 7 ประโยค ถึง เปรียญธรรม 9 ประโยค
โทษของผู้รังแกสมณะ
ความจริง บาปที่ตนทำแล้ว อันเกิดจากตน ที่มีตนเป็นแดนเกิด ย่อมย่ำยีบุคคล ผู้มีปัญญาทราม เหมือนเพชรย่ำยีแก้วมณีที่เกิดแต่หิน ฉะนั้น
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
อานิสงส์ของการภาวนาพุทธคุณ
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมว่าเป็นสรณะ และข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ
พิธีทรงตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค และมอบประกาศนียบัตรฯ
พระพรหมโมลี เจ้าคณะใหญ่หนกลาง เป็นประธานในพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค และมอบประกาศนียบัตรพระภิกษุสามเณรที่สอบได้ประโยค 1-2
รายนามผู้ได้รับรางวัลพุทธคุณูปการ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2554
รางวัลนี้มอบโดยการกลั่นกรองจากคณะอนุกรรมาธิการการของรัฐสภา ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทย เป็นเครื่องหมายหนึ่งที่แสดงถึงการให้ความสำคัญแก่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยและความสำคัญของรางวัลนี้ ที่มอบให้แก่ผู้ทุ่มเททั้งกายและใจ ทั้งพระสงฆ์ บุคคลทั่วไป และองค์กร ที่มีความตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละ และอุทิศชีวิตเพื่อพระพุทธศาสนา