อานิสงส์ถวายมะม่วง
ผู้มีจิตเลื่อมใส เมื่อได้ถวายทานในหมู่แห่งภิกษุผู้ปฏิบัติตรง ย่อมได้ผลอันไพบูลย์ ผู้นั้นแล ย่อมไปสู่สวรรค์ บันเทิงอยู่ในสวรรค์ชั้นไตรทิพย์ เสวยผลบุญอันไพบูลย์ เพราะเหตุนั้นแล มนุษย์ผู้ต้องการความสุข ปรารถนาความสุขอันเป็นทิพย์ หรือปรารถนามนุษย์สมบัติอันเลิศ ควรถวายทานเป็นนิตย์ทีเดียว
อานิสงส์ถวายพวงมาลัย
ทวยเทพผู้มีศรัทธา คือ เชื่อในพระพุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรัตนะ ย่อมรุ่งโรจน์กว่าดิฉัน โดยอายุ ยศ สิริ ทวยเทพเหล่าอื่นผู้มีศรัทธาก็ยิ่งยวดกว่า โดยอำนาจ วรรณะ และมีฤทธิ์มากกว่าดิฉัน
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 2 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ภูเขาเวปุลละสูงตระหง่านเป็นเยี่ยมกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในกรุงราชคฤห์ เสตบรรพตเป็นเลิศกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในป่าหิมวันต์ ดวงสุริยาเป็นเลิศกว่าบรรดาสิ่งที่ไปในอากาศ มหาสมุทรเป็นเลิศกว่าห้วงน้ำทั้งหลาย ดวงจันทราเป็นเลิศกว่าดาราทั้งหมด ส่วนพระพุทธเจ้าเป็นเลิศกว่าประชุมชนทั้งโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก
ภิกษุผู้ยังป่าให้งาม
พร้อมพระสาวกเถระทั้งหลาย พระสารีบุตรถามพระอานนท์ พระเรวตะ พระอนุรุทธะ พระมหากัสสปะ พระมหาโมคคัลลานะ ว่าป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร
สภาพของเปรตแต่ละชนิด
เปรตชิ้นเนื้อ ครั้งหนึ่ง พระมหาโมคคัลลานเถระได้เห็นชิ้นเนื้อลอยอยู่ในอากาศ พวกแร้งบ้าง นกตะกรุมบ้าง ต่างพากันโผถลาตามจิกทึ้งชิ้นเนื้อนั้น และชิ้นเนื้อนั้นก็ส่งเสียงร้องครวญครางอย่างน่าสงสาร จึงคิดว่าน่าอัศจรรย์เป็นนักหนา ต่อมาได้กราบทูลให้พระพุทธองค์ทรงทราบ ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล่าประวัติของเปรตตนนี้ว่า
ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
อานิสงส์การบูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
“ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้ ๘ ดอก ขึ้นบูชาพระสถูปของพระกัสสปพุทธเจ้าด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้”
อานิสงส์บูชาสิ่งแทนพระพุทธองค์
“ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นสถานที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ.....
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?