ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 36
อาจารย์เสนกะและสหายปุโรหิต เมื่อได้ทราบข่าวด่วนจากพนักงานกรมวังว่า พระราชาทรงเสด็จกลับมาแล้ว ทั้งที่ยังไปไม่ถึงปาจีนยวมัชฌคาม ก็ยิ่งบังเกิดความฉงนใจ ใคร่จะรู้ว่ามีเหตุการณ์อันใดเกิดขึ้น ท้าวเธอถึงได้เสด็จกลับมาเร็วนัก แต่ในขณะเดียวกันก็พากันดีอกดีใจอยู่ที่ไม่น้อย ที่อย่างน้อยๆ ก็มีเหตุให้สามารถประวิงเวลาพระองค์ไว้ได้อีกชั่วระยะหนึ่ง อาจารย์เสนกะก็นึกกระหยิ่มใจว่า “คราวนี้เป็นทีของเราบ้างละ” จึงได้คิดหาเหตุผลเพื่อสนับสนุนสิ่งที่ตนทูลไว้ในครั้งก่อน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 33
“พวกพระองค์ได้เพียรพยายาม ทุกวิถีทางเพื่อจะนำสระโบกขรณีมาถวายพระองค์ให้จงได้ แต่เพราะเหตุที่พวกข้าพระองค์เป็นผู้ด้อยปัญญา ด้วยความเขลาจึงสำคัญผิดไปว่า การนำสระโบกขรณีเก่ามาผูกติดกับสระโบกขรณีใหม่นั้น อาจมีช่องทางให้สำเร็จตามประสงค์ได้ พระองค์ผู้สมมุติเทพ ก็พระองค์จักเป็นผู้ยืนยันให้แจ้งชัดในที่นี้ได้หรือไม่ว่า ใครๆ ก็ไม่อาจจะผูกสระโบกขรณีให้ติดกันได้ พระเจ้าค่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 32
ชายผู้เป็นหัวหน้ามิได้สะทกสะท้าน ได้กราบทูลอย่างองอาจว่า “หามิได้พระเจ้าค่ะ พระองค์มิได้รับสั่งให้พวกข้าพระองค์ลุยโคลนเช่นนี้ แต่ก่อนหน้านี้ พระองค์ทรงมีพระบรมราชโองการให้ชาวบ้านปาจีนวยมัชฌคามส่งสระมาถวายมิใช่หรือ พระเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 31
พวกราชบุรุษชุดเดิมก็ได้ไปป่าวประกาศให้ชาวบ้านปา จีนยวมัชฌคามทราบว่า “เจ้าเหนือหัวมีพระราชประสงค์จะทรงเล่นน้ำในสระ ดังนั้น ขอให้ชาวบ้านปาจีนวยมัชณคามจงส่งสระโบกขรณีอันดารดาษด้วยบัวเบญจพรรณมาถวาย พระองค์ โดยให้นำมาไว้ในพระราชวัง ภายในชั่วเวลา ๗ วัน หากไม่อาจส่งมาได้ จักต้องถูกปรับสินไหมพันกหาปณะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 30
“คืออย่างนี้พระเจ้าค่ะ... วานนี้พระองค์เพียงแต่รับสั่งให้ฟั่นเชือกทรายมาถวายเส้นหนึ่ง แต่ก็ยังไม่ทรงกำหนดขนาดให้แน่ชัด ว่าจะให้ฟั่นกี่เกลียว และฟั่นในลักษณะใด พวกข้าพระบาทต่างก็ไม่แน่ใจ จึงกลับมาทูลถามขนาดและรูปแบบให้แน่ชัด เพื่อจะได้ทำมาถวายให้ถูกต้องตามพระประสงค์ ดังนั้น ขอพระองค์ทรงโปรดพระราชทานเชือกทรายเส้นเก่าให้พวกข้าพระพุทธเจ้านำไปดู เป็นตัวอย่างสักคืบหนึ่งก็เพียงพอแล้ว พระเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๔)
มาถึงตอนนี้พระโพธิสัตว์ได้ตัดสินคดีความเละตรัสตอบคำถามที่นายคามณิจันท์รับปาก เขามาถามทั้งหมดไม่่ว่าจะเป็นเรื่องของพราหมณ์มาณพกลุ่มหนึ่งที่เรียนมนต์ได้ไม่ดี เรื่องที่น้ำในสระของพญานาคขุ่น เรื่องของนกกระทาที่ไม่ยอมไปจากจอมปลวก เรื่องของเนื้อที่ชอบกินหญ้าใต้ต้นไม้นั้น เรื่องของงู และเรื่องอื่นๆ พระโพธิืสัตว์จะทรงตัดสินคดีความและตอบคำถามเช่นไรนั้น
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๑)
ตัวอย่างของการใช้ปัญญารักษาตัวรอด มีสติปัญญาสามารถนำพาตนให้รอดพ้นภัยพิบัติได้ ดังนั้นปัญญาจึงเป็นรัตนะของนรชนทั้งหลาย โดยเฉพาะปัญญาที่จะช่วยนำพาเรา ให้หลุดพ้นจากทุกข์ในอบายภูมิ ให้ได้เวียนวนสร้างบารมีอยู่เฉพาะในสุคติภูมิอย่างเดียว
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - บุญยังความปรารถนาให้สําเร็จ
พระเถระท่านนี้มีนามว่า พระมหากัจจายนะ เป็นพระอรหันตเถระ ผู้มีผิวพรรณงดงามประดุจทองคำ ท่านมีประวัติ การสร้างบารมีที่น่าสนใจมาก เช่น กระทำการบูชาพระผู้มีพระภาคด้วยการถวายแผ่นอิฐทองคำมีค่าแสนหนึ่ง ทำเป็นฐานของพระสุวรรณเจดีย์ และตั้งความปรารถนาว่า "ด้วยอานุภาพแห่งบุญที่บังเกิดขึ้น จากการถวายแผ่นอิฐทองคำนี้ ทุกภพทุกชาติที่ได้เกิด ขอให้สรีระของข้าพเจ้าจงมีวรรณะเหมือนทองคำ"
มงคลที่ ๑ ไม่คบคนพาล - เลือกคบคนให้เป็น
พระเทวทัต มีความปรารถนาลามกจะตีเสมอพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คิดอยากจะเป็นใหญ่ปกครองคณะสงฆ์ จึงแสดงอิทธิฤทธิ์และเกลี้ยกล่อมเจ้าชายอชาตศัตรูให้เลื่อมใสตนเอง จากนั้นเริ่มยุยงให้ปลงพระชนม์ พระบิดา ส่วนพระเทวทัตจะปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วเป็นศาสดาแทน