มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
นิพพานคือเป้าหมายของชีวิต
ฐานะที่บุคคลเห็นได้ยาก ชื่อว่านิพพาน ไม่มีตัณหา นิพพานนั้นเป็นธรรมจริงแท้ ไม่เห็นได้โดยง่ายเลย ตัณหาอันบุคคลแทงตลอดแล้ว กิเลสเครื่องกังวลย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้รู้ ผู้เห็นอยู่
พระอรหันต์หาได้ยาก
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าบรมครูของเรา ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสอาสวะทั้งปวง ได้เข้าถึงฝั่งแห่งพระนิพพานอันเป็นแดนเกษมจากโยคะ ที่ความทุกข์ใดๆ เข้าไปไม่ถึง จึงมีแต่
คุณธรรมพื้นฐาน 3
คุณธรรมพื้นฐาน 3 คุณธรรมความดีต่างๆ จะเกิดขึ้นได้ จำเป็นต้องมีคุณธรรมพื้นฐาน 3 รองรับอย่างมั่นคงแข็งแรงก่อน ได้แก่ 1. ความมีวินัย 2. ความอดทน 3. ความเคารพ
บวชอุทิศชีวิต สามเณรเปรียญธรรม พุทธศักราช 2555
พิธีอุปสมบทอุทิศชีวิต ปี 2555 ณ พัทธสีมา วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ.2555 (วันวิสาขบูชา)
ความเลวต้องหนี ความดีต้องทำ
พอเลิกนั่ง ก็ไปกราบเรียนถามพระอาจารย์ว่า “ผมคิดไปเองรึเปล่า” ท่านก็บอกว่า “ที่เห็นเป็นกายละเอียดของเรา ต่อให้คิดให้ตายก็ไม่มาให้เห็นถ้าใจไม่นิ่ง” พอกลับมาบ้าน ก็นั่งสมาธิทุกวัน โดยเปิดเสียงของพระเดชพระคุณหลวงพ่อ ปัจจุบันยังเห็นพระค่อยๆผุดซ้อนขึ้นมาเรื่อยๆ บางช่วงใสมาก บางช่วงใสน้อย ผมมักจะนั่งได้ดีในตอนเช้า และขณะทำงาน ขับรถ ผมก็พยายามกำหนดทุกอิริยาบถไปด้วยว่า มีพระอยู่ในตัว
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - ศิษย์คิดล้างครู
มุสิละกราบทูลว่า ตนมีความสามารถพอๆ กับอาจารย์ จึงไม่ขอรับเงินเดือนที่ต่ำกว่าอาจารย์ ขอให้พระองค์พระราชทานเท่ากับอาจารย์เถิด พระราชาตรัสว่า เจ้าอย่าพูดอย่างนั้น ธรรมดาอาจารย์ต้องได้รับมากกว่าศิษย์ มุสิละก็ ไม่ยอม จากนั้นก็ออกไปประกาศให้มหาชนไปเป็นสักขีพยาน ในการประลองฝีมือการดีดพิณระหว่างตนกับอาจารย์
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
พระอริยเจ้า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นเหตุให้หมู่สัตว์ถูกธรรมนั้นหุ้มห่อ แล้วท่องเที่ยวไปสิ้นกาลนาน เหมือนหมู่สัตว์ผู้ถูกโมหะหุ้มห่อแล้ว ไม่มีเลย ส่วนพระอริยสาวกเหล่าใด ละโมหะแล้ว ทำลายกองแห่งความมืดได้แล้ว พระอริยสาวกเหล่านั้นย่อมไม่ท่องเที่ยวไปอีก เพราะอวิชชาอันเป็นต้นเหตุแห่งสงสาร ย่อมไม่มีแก่พระอริยสาวกเหล่านั้น