วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
ตร.ไทยหัวเราะ ดังไปถึงญี่ปุ่น
ทบทวนบุญมหากฐิน ๒๕๔๙
ธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
พิธีกรรมงานอวมงคล
การทำบุญเนื่องในงานอวมงคล ได้แก่ งานทำบุญซึ่งปรารภเหตุที่ไม่เป็นมงคล เช่น ปรารภการตายของบิดามารดา ครู อาจารย์ หรือญาติมิตร เป็นต้น
ตร.ภาค 7 ใช้ระบบไฮเทคโทรศัพท์มือถือค้นข้อมูลอาชญากรรม
คำขอบวช แบบเอสาหัง
คำขอบวช แบบเอสาหัง วิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง บทสวด พิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง) ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจำใช้ในพิธีบวชแบบธรรมยุต (เอสาหัง)
เด็กออทิสติก นั่งสมาธิเห็นองค์พระ
ความรู้สึกของตัวลูก ครั้งแรกที่เห็นบรูซ เป็นอย่างนี้ ลูกแทบไม่เชื่อสายตาตัวเอง บรูซที่ไม่เคยอยู่นิ่ง ชอบวิ่งตลอดเวลา จากเด็กที่มีแต่ปัญหา แต่อยู่ๆสามารถนั่งสมาธิและเห็นดวงแก้วองค์พระในตัวได้ ช่วงเวลาข้ามคืน สามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ขนาดนี้
อานิสงส์การถือธุดงควัตร (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 1
“ ธุดงค์ ” แปลว่า...องค์คุณเครื่องกำจัดกิเลส หมายถึง ข้อวัตรปฏิบัติที่มีความเข้มงวดเป็นพิเศษ ที่จะช่วยกำจัดกิเลสให้หลุดร่อนออกไปจากใจได้อย่างดีเยี่ยม
คุณชาดก-ชาดกว่าด้วยมิตรธรรม
ครั้นหนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ราษฎรใกล้ไกลล้วนศรัทธาพระพุทธศาสนาหลั่งไหลหารมาฟังธรรมเจริญภาวนาอยู่ไม่ว่างเว้น พระเทวีทั้ง 500 นางของพระเจ้ากรุงโกศลเองก็เช่นกัน แม้จะไม่ได้ออกมานั่งฟังธรรมอย่างคนอื่นๆได้ แต่ก็ได้นิมนต์พระอานนท์ไปเทศนาธรรมที่ในวัง เมื่อพระเทวีฟังธรรมจากพระอานนท์จบแล้วก็เกิดความเลื่อมใสถวายผ้าสาดกที่ได้รับมารวมทั้งหมด 500 ผืน