หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
เกาะติดความปลื้ม 25 มกราคม "หนาวแค่กาย แต่อุ่นที่ใจ"
เช้าวันนี้ที่อนุสรณ์สถานคลองบางนางแท่นอากาศหนาวสุดๆ วัดได้ 17 องศาเซลเซียส พร้อมกับสายลมที่พัดเอาความเย็นยะเยือกมาด้วย พอตื่นเช้ามาพุทธบุตรก็ต้องรีบเก็บเต็นท์ขณะเก็บไป...ก็สั่นหนาวไปด้วย
เกาะติดความปลื้ม 14 มกราคม “วันที่วัฒนธรรมชาวพุทธเฟื่องฟู”
วันนี้พุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญยังคงรวมใจบ้านวัดโรงเรียนในจังหวัดนนทบุรีร่วมกันสร้างมวลแห่งความสุข สร้างเทรนด์ใหม่ในการพิทักษ์รักษาพระพุทธศาสนา ทำให้จังหวัดนนทบุรีสมชื่อจังหวัดแห่งความสุข โดยเฉพาะชุมชนรอบวัดบางรักใหญ่ก็ได้ยิ้มรับความสุขกันตั้งแต่เช้าตรู่ที่ได้ใส่บาตรพุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญ
เกาะติดความปลื้ม 7 มกราคม “ร่วมด้วยช่วยกันห้าวัดเมืองสุพรรณสว่างไสว”
ภาพแห่งความปลื้มล้นใจเมื่อวานนี้ที่ได้เห็นพุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญนั่งสมาธิพร้อมกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ต่อหน้ารูปเหมือนทองคำพระเดชพระคุณหลวงปู่ พระผู้ปราบมาร ที่อนุสรณ์สถานแห่งที่ 1 โลตัสแลนด์
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
เกาะติดความปลื้ม 5 มกราคม “วันที่ไม่ลืมกันแล้วท่านจะกลับมาอีก”
ถึงแม้จะสุดแสนเสียดายสักเพียงไหนก็ตาม ที่พุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญเน็ตๆ ท่านไม่ได้เดินผ่านเส้นทางพระผู้ปราบมารเหมือนปีก่อนๆที่ผ่านมา แต่มันก็เหมือนบทพิสูจน์ให้เห็นว่า "พวกเราชาวพุทธนั้น...ยังรักพระพุทธศาสนากันอยู่จริงๆไหม?""อยากให้พุทธบุตรกองพันเนื้อนาบุญเน็ตๆ ท่านกลับมาทุกปีไหม?"
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
ติสสสามเณร สามเณรผู้รู้วันละสังขาร
ในสมัยพุทธกาลมีสามเณร น้อยองค์หนึ่งชื่อติสสะ อายุ ๗ ปีมาบวชเพื่อศึกษาเล่าเรียน และปฏิบัติธรรมอยู่ในสำนักพระสารีบุตรเถระอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นระยะเวลาหนึ่งปี
ความปลื้มจากใจกองพันเนื้อนาบุญ ตอน จะบวชเป็นพระแท้แบบวันต่อวันตลอดชาติ
ตอนที่ผมอายุ 13 ปีผมได้บวชเป็นสามเณรที่วัดในเมืองมอญบ้านผม ผมก็ตั้งใจว่าจะบวชไม่สึก แต่ตอนนั้นบวชได้แค่ 13 วัน ก็จำเป็นต้องลาสิกขาเพราะต้องออกไปทำงานช่วยทางบ้านปลดหนี้ แต่ก่อนที่จะลาจากผ้าเหลืองผมก็ตั้งความปรารถนาเอาไว้ว่าถ้าอายุครบ 20 ปีเมื่อไหร่ผมจะบวชเป็นพระทันทีเลยเพราะนั่นเป็นความใฝ่ฝันที่ผมต้องตามหาครับ แล้วผมก็มาทำงานอยู่ที่ภูเก็ตครับพออายุ ครบ 20 ปี ผมก็กลับไปบ้านเกิดหาโยมแม่ บอกท่านว่า “ผมอยากบวช”