สะเก็ดข่าวสั้นทันปรโลก ตอน เพื่อเธอตลอดไป
คุณแม่ละโลกแล้วเป็นอย่างไร ท่านอยู่ ณ ที่ใดในปรโลก ด้วยบุพกรรมใดจึงทำให้ท่านต้องมาป่วยด้วยโรคมะเร็งรังไข่และก็มารู้ตัวในระยะสุดท้าย แล้วท่านก็ได้เสียชีวิตตอนอายุ 52 ปีคะ
อย่ารักตัวเองจริง ๆ ตอนสายเกินไป
มนุษย์แทบทุกคนจะรู้สึกว่า “รักตัวเอง” แต่กลับไม่ยอมมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ตัวเองจริง ๆ เช่น รู้ว่า..การนั่งสมาธิเป็นสิ่งดี แต่ก็นั่งน้อย หรือผัดวันเวลาไปเรื่อย ๆ โดยมีเหตุผลอันสวยงามว่าติดนั่นติดนี่ หรือรอให้พร้อมกว่านี้ก่อน....
ผลการปฏิบัติธรรม มัชฌิมธรรมทายาทหญิง
แม้หนูเพิ่งจะมาวัดพระธรรมกายเป็นครั้งแรก แต่หนูก็รัก ศรัทธา และรู้สึกประทับใจวัดพระธรรมกายมากๆค่ะ
กรมประชาสัมพันธ์ร่วมมือกับทีวีทั้ง 6 ช่อง จัดเรตรายการโทรทัศน์
ชัยชนะครั้งที่ 4 (ตอน ชนะองคุลิมาล)
พระผู้มีพระภาคเจ้าจอมมุนี ทรงใช้ฤทธิ์ทางใจ ให้เป็นอิทธาภิสังขาร ทรงชนะองคุลิมาล ผู้แสนโหดเหี้ยมร้ายกาจ มีฝีมือฉกรรจ์ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ สิ้นทาง ๓ โยชน์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน
ขอเชิญร่วมงานพิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระ และพระเถระ ครั้งที่ 24
ขอเชิญร่วมงานพิธีมุทิตาสักการะพระมหาเถระ และพระเถระ ครั้งที่ 24 ประจำปีพุทธศักราช 2561 วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง วัดพระธรรมกาย สอบถามรายละเอียดได้ที่ 08-9645-2829 , 08-5118-5678
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
มงคลที่ 37 - จิตปราศจากธุลี - ปล่อยวางในสรรพสิ่ง
สรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ไม่ว่าจะเป็นต้นไม้ใบหญ้า รถราบ้านช่อง คนสัตว์สิ่งของ สิ่งเหล่านี้ล้วนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เหมือนต้นไม้ที่เราเคยเห็นต้นเล็กๆ ไม่นานก็เจริญเติบโตขึ้น แผ่กิ่งก้านสาขาออกดอกออกผล ให้ความสดชื่นแก่ทุกชีวิต แต่ไม่นาน ดอกไม้ที่ดูสวยสดงดงามเหล่านั้น ก็เหี่ยวแห้ง ร่วงโรยไปตามกาลเวลา ชีวิตของเราก็เช่นเดียวกัน
วันธรรมชัย ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ
วันธรรมชัยนี้มีบุญใหญ่ เรามาศึกษาโอวาทที่คุณครูไม่ใหญ่ไห้ไว้ว่า "ใจใสใจสบาย ทำอะไรก็สำเร็จ" แล้วอะไรคือความหมายของคำว่า ใจใส ใจสบาย ทำอย่างไรให้ใจใส "ใจหยุดที่ฐานที่เจ็ด ทำอะไรก็สำเร็จอย่างสบายๆ" ใจหยุดเป็นอย่างไร ทำอย่างไรให้ใจหยุด พร้อมกับมาเอาบุญใหญ่จากการถวายยารักษาโรคในวันธรรมชัยนี้ 02-831-1000
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น