มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - คุณค่าแห่งศิลปะ
เมื่อชายง่อยได้เข้าเฝ้าพระราชาเพียงลําพัง พระองค์ตรัสถามชายง่อยว่า "ในราชสำนักของเรา มีปุโรหิตปากกล้าคนหนึ่ง เจ้าสามารถทำให้เขาหยุดพูดได้ไหม" ชายง่อยกราบทูลว่า "ถ้าได้มูลแพะประมาณทะนานหนึ่ง ข้าพระองค์ก็สามารถทำได้พระเจ้าข้า"
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๔ )
ฝ่ายมหาทุคตะกลับจากวิหารเห็นเหตุอัศจรรย์เช่นนั้น บังเกิดมหาปีติ ขนลุกไปทั่วสรรพางค์ ปลื้มใจว่า ฝนรัตนะ ๗ ประการ ตกเพราะพุทธานุภาพอันไม่มีประมาณ รวมทั้งบุญญานุภาพที่ตัวได้ทำในวันนี้ จากนั้นเขารีบไปยังราชสำนัก พลางกราบทูลพระราชาว่า "บ้านของข้าพระองค์เต็มไปด้วยรัตนะ ๗ ประการ ขอพระองค์ทรงให้ราชบุรุษนำเกวียนไปขนทรัพย์นั้นมาเถิด พระเจ้าข้า"
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 6
อาจารย์เสนกะจินตนาการไปไกลว่า “หาก มโหสถกุมารนี้ได้เข้ามาอยู่ในราชสำนักเมื่อใด เราก็คงหมดความสำคัญ แม้พระราชาก็จักทรงลืมเราไปเสียสิ้น ไม่ช้าเราก็จะตกต่ำหมดรัศมี แม้ลาภ ยศ บริวาร และความเป็นใหญ่ก็จะพลอยสูญสิ้น จำเราจะต้องกราบทูลทัดทานไว้ก่อน”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๗ ( ความจริงปรากฏ )
ครั้นเทวดาที่สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตรของพระราชา ไม่ได้สดับธรรมเทศนาของพระโพธิสัตว์หลายวัน และรู้ว่ามโหสถถูกกลั่นแกล้ง คนดีเทวดาต้องคุ้มครองรักษา พระราชาพระองค์นี้เป็นคนหูเบา มีปัญญาน้อย ไม่รู้จักเลือกใช้คนให้เป็น อาศัยกินบุญเก่าเท่านั้นถึงได้มาบังเกิดเป็นพระราชา เทวดาจึงคิดหาวิธี ที่จะให้มโหสถกลับมาอยู่ในราชสำนักตามเดิม เพื่อตนจะได้ฟังธรรมของมโหสถอีก
ตัณฑุลนาฬิชาดก ชาดกว่าด้วยการตีราคาสินค้า
พนักงานตีราคาคนใหม่ผู้มีนิสัยตระหนี่ เห็นแก่ได้ โลภมาก สามารถตีราคาสินค้าเอาเปรียบพ่อค้าจากเมืองใกล้ไกลได้กำไรมากมาย จนเป็นที่ถูกอกถูกใจพระเจ้าพรหมทัต ต่อมาเขาได้รับสินบนจากพ่อค้าม้าคนหนึ่งจนเป็นเหตุซึ่งทำให้เขาถูกไล่ออกจากวังในที่สุด
วันสื่อสารแห่งชาติ 2566 ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการสื่อสาร
การสื่อสารมีความสำคัญ จึงได้มีการกำหนดวันสื่อสารแห่งชาติ ขึ้นมา ในวันที่ 4 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ" การสื่อสารหมายถึงอะไรศึกษาได้จากบทความนี้ค่ะ...
ประวัติสุนทรภู่ ความเป็นมาของวันสุนทรภู่ กวีเอกของโลก
สุนทรภู่ หรือ พระสุนทรโวหาร มีนามเดิมว่า ภู่ เกิดในวังหลัง ปากคลองบางกอกน้อย) เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2329 ท่านเป็นกวีเอกคนหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์
วันจักรี 6 เมษายน ประวัติวันจักรี ความเป็นมาความสำคัญของวันจักรี
วันจักรี ตรงกับ วันที่ 6 เมษายนของทุกปี ประวัติวันจักรี ความเป็นมาความสำคัญของวันจักรี วันจักรีมีความสำคัญอย่างไร วันจักรีเป็นวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและมหาจักรีบรมราชวงศ์
อาวาริยชาดก ชาดกว่าด้วยไม่ควรเปล่งวาจาที่ดีให้เกินแก่ควรกาล
ฤาษีได้ให้โอวาทคนแจวเรือ ซึ่งเป็นคนที่โง่เขลา มีนิสัยดุร้าย ขี้โกง " ขอให้ท่านจงอย่าคิดเคืองโกรธไม่ว่าจะในที่ใด ๆ ทั้งในบ้าน ในป่า ความร่ำรวยในทรัพย์ก็จะมีแก่โยม นี่แหละของดีที่อาตมาจะให้ ” “ อะไรกันท่านฤาษี นี่หรือคือค่าจ้างเรือที่ท่านจะให้ผมหน่ะ ” “ ใช่แล้วล่ะโยม ” “ ไม่ได้ ข้าไม่ยอม เอาของดีของท่านเก็บไว้ใช้กับตัวเถิด ค่าจ้างของข้า ต้องเป็นเงินเพียงอย่างเดียว เอาเงินมาให้ข้า ข้าต้องการเงินเท่านั้น ” ว่าแล้วคนแจวเรือก็ได้ทำการตบตี ทำร้ายฤาษีในทันที
พันธนโมกขชาดก ชาดกว่าด้วยการหลุดพ้นจากเครื่องผูกมัด
อดีตกาลอันไกลออกไป ยังมีอัครเหสีผู้สมบูรณ์พร้อมในอิตถีลักษณ์ ชวนหลงไหล บำรุงบำเรอสุขแก่พระเจ้ากาสี อยู่ในพาราณสีนครหลวง “ หญิงสวยอย่างเรา แม้แต่พระเจ้ากาสีก็ยังหลงไหล ฮึ แล้วมีรึ ชายหนุ่มอื่นใดจะไม่ต้องการ